@article{ชูตินันทน์_2021, place={Bangkok, Thailand}, title={การกำหนดเหตุฉกรรจ์เกี่ยวกับการกระทำที่ใช้วิธีการที่ร้ายแรงและเป็นอันตราย กว่าการทำร้ายร่างกายผู้อื่นกรณีธรรมดาให้ต้องระวางโทษหนักขึ้น}, volume={35}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/246331}, abstractNote={<p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและเหตุผลในการกำหนดเหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นตามกฎหมายอาญาของไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนศึกษาขอบเขตและปัจจัยในการกำหนดเหตุฉกรรจ์ ในความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่น จากการศึกษาวิจัยพบว่า การกำหนดเหตุฉกรรจ์ในความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นยังมีข้อจำกัดที่ไม่ครอบคลุมถึงกระทำด้วยวิธีการที่ร้ายแรงอีกหลายประการที่มีความเป็นอันตราย ดังนั้น ผู้วิจัยเห็นว่า ควรบัญญัติเหตุฉกรรจ์เกี่ยวกับการใช้อาวุธ หรือสารพิษหรือสารเคมีอันตราย หรือสารเสพติด หรือด้วยการใช้ไฟหรือวัตถุที่ทำให้เกิดความร้อน หรือวัตถุที่ก่อให้เกิดอันตรายประการอื่น หรือการใช้สัตว์เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด อันมีผลทำให้ผู้กระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกายผู้อื่นต้องรับโทษหนักขึ้น ทั้งนี้เพื่อคุ้มครองสังคม และเป็นหลักประกันการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม อีกทั้งเพื่อข่มขู่ยับยั้งและลดอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับคนในสังคม</p>}, number={1}, journal={วารสารสุทธิปริทัศน์}, author={ชูตินันทน์ อัจฉรียา}, year={2021}, month={มี.ค.}, pages={1–23} }