https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JBIR/issue/feed The Journal of Buddhist Innovation Review 2025-01-15T14:45:34+07:00 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงเพชร สมศรี mameaw43@hotmail.com Open Journal Systems <p> </p> <table width="602"> <tbody> <tr> <td width="602"> <p><strong>นโยบายและกระบวนการวารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์</strong></p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>Aims &amp; scope ของวารสาร</strong></p> <p>วารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์ มีวัตถุประสงค์เพื่อตีพิมพ์และเผยแพร่บทความวิจัย บทความวิชาการและบทวิจารณ์หนังสือที่เป็นภาษาไทยและมีข้อค้นพบ ข้อเสนอแนะที่เป็นนวัตกรรม รวมถึงความคิดริเริ่มที่มีผลกระทบต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติในวงกว้าง อีกทั้งยังมุ่งหมายที่จะเป็นเวทีในการนำเสนอผลงานทางวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์ และสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และสนับสนุนการศึกษา การสอน โดยเน้นสาขาวิชาพระพุทธศาสนา ปรัชญา สังคมและมนุษย์ศาสตร์ในเชิงประยุกต์การศึกษาเชิงนวัตกรรมประยุกต์ และด้านนวัตกรรมต่าง ๆ ตลอดจนสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและรวมถึงสหวิทยาการอื่น ๆ ทั้งนี้ บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ตามมาตรฐาน โดยที่ผู้อ่านไม่ทราบชื่อผู้เขียนและผู้เขียนไม่ทราบชื่อผู้อ่าน (double blind review) และต้องเป็นบทความที่ไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ที่วารสารอื่นมาก่อน วารสารนี้ออกเผยแพร่ปีละ 3 ฉบับ (มกราคม – เมษายน พฤษภาคม – สิงหาคม กันยายน – ธันวาคม)</p> <p>วารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์ ได้เริ่มจัดทำและตีพิมพ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2563 และได้เริ่มจัดทำในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2563 ซึ่งปัจจุบันวารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศนื ตามที่ศูนย์ดัชนี TCI ได้จัดกลุ่มคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI <strong>วารสารกลุ่มที่ 2</strong> : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI </p> <p>Online ISSN : 2730-2539</p> <p>Print ISSN : 2730-1842 </p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>วัตถุประสงค์ของวารสาร</strong></p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>1. เพื่อนำเสนอบทความทางวิชาการและบทความวิจัยที่มีคุณภาพที่แสดงถึงประโยชน์ทั้งเชิงทฤษฎี (Theoretical Contributions) ที่นักวิจัยหรือผู้ที่สนใจสามารถนำไปพัฒนาหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ และประโยชน์ในเชิงปฏิบัติการ (Managerial Contributions) นักวิจัยหรือผู้สนใจนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือต่อยอดการวิจัยที่ครอบคลุมเนื้อหาที่เป็นสหวิทยาการ โดยเน้นสาขาวิชาพุทธศาสนา ปรัชญา สังคมและมนุษย์ศาสตร์ในเชิงประยุกต์การศึกษาเชิงนวัตกรรมประยุกต์ และด้านนวัตกรรมต่างๆ ตลอดจนสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>2. เพื่อให้บริการวิชาการแก่สังคมในการเป็นศูนย์กลางเผยแพร่แลกเปลี่ยนความคิดเห็นประสบการณ์การทำวิจัยและการพัฒนาผลงานวิชาการของนักวิจัย นักวิชาการ คณาจารย์ ผู้บริหาร นักศึกษา นักธุรกิจ และประชาชนผู้สนใจการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมทั่วไป</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>กระบวนการพิจารณา (</strong><strong>Peer Review Process)</strong></p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>บทความจากผู้ทรงคุณวุฒิวารสารมีกระบวนการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิก่อนตีพิมพ์ โดยบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ลักษณะปกปิดรายชื่อ(Double blind peer-reviewed) ทั้งนี้บทความจากผู้นิพนธ์ภายในจะได้รับการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกหน่วยงานที่จัดทำวารสาร ส่วนบทความจากผู้นิพนธ์ภายนอกจะได้รับการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิภายใน หรือนอกหน่วยงานที่จัดทำวารสารที่มีความเชี่ยวชาญในสาขา และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้นิพนธ์</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>กำหนดเผยแพร่วารสาร </strong>(Publication Frequency)</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – เมษายน</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>ฉบับที่ 2 เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน – ธันวาคม</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>ระยะเวลาตีพิมพ์: ปีละ 3 ฉบับ ทั้งแบบรูปเล่มและออนไลน์ </p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>ค่าธรรมเนียมในการตีพิมพ์บทความ</strong></p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>ข้อตกลงการส่งบทความตีพิมพ์ของวารสาร</strong></p> <p>เมื่อผู้แต่งส่งต้นฉบับเข้าสู่กระบวนการพิจารณาของกองบรรณาธิการ ผู้เขียนจะต้องชำระเงินค่าดำเนินการพิจารณาบทความเพื่อลงตีพิมพ์วารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์ จำนวน 4,000 บาท (บทความที่ถูกปฏิเสธการดำเนินการต่อจากการพิจารณาของกองบรรณาธิการได้ ทางวารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์จะ<strong>ไม่มีการเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมจากผู้แต่งในทุกกรณี</strong> ขอให้ผู้แต่งบทความควรตรวจสอบบทความของท่านให้มีความสอดคล้องกับขอบเขตการตีพิมพ์ที่เน้นการตีพิมพ์เรื่องพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์ เมื่อต้นฉบับได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสาร <strong>สามารถชำระค่าส่งบทความเพื่อลงตีพิมพ์วารสารผ่านช่องทางบัญชีธนาคาร</strong> กรุณาโอนเงินผ่านบัญชีธนาคารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน) สาขาอยุธยา พาร์ค ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี มจร. หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต เลขที่ 633 2 50225 8 </p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>* หมายเหตุ* กรณีที่บทความไม่ผ่านการพิจารณาตีพิมพ์จากผู้ทรงคุณวุฒิ ทางวารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์จะ<strong>ไม่มีการเรียกเก็บเงินค่าธรรมเนียมจากผู้แต่งในทุกกรณี</strong> ผู้เขียนสามารถขอคืนเงินค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ได้</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>กระบวนการพิจารณาบทความจากผู้ทรงคุณวุฒิ</strong><strong> </strong></p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>วารสารมีกระบวนการประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิก่อนตีพิมพ์ โดยบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิในทุกบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ได้รับการตรวจสอบทางวิชาการจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) 3 ท่านต่อ 1 บทความ ในลักษณะปกปิดรายชื่อ (Double blind peer-reviewed) ทั้งนี้บทความจากผู้นิพนธ์ภายในจะได้รับการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ภายนอกหน่วยงานที่จัดทำวารสาร และไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้นิพนธ์ ซึ่งจะทำให้เกิดความเข้มข้นในการประเมินคุณภาพบทความก่อนออกตีพิมพ์เผยแพร่สู่สาธารณะ ในกรณีที่กองบรรณาธิการหรือผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งได้รับเชิญให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิผู้ตรวจประเมินบทความมีความเห็นว่าควรแก้ไข กองบรรณาธิการจะส่งคืนเพื่อให้เจ้าของบทความแก้ไข โดยจะยึดถือข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิผู้ตรวจประเมินเป็นเกณฑ์หลัก และหรือขอสงวนสิทธิ์ที่จะพิจารณาไม่ตีพิมพ์ ในกรณีที่รายงานการวิจัย บทความทางวิชาการหรือบทความวิจัยโดยเน้นสาขาวิชาพุทธศาสนา ปรัชญา สังคมและมนุษย์ศาสตร์ในเชิงประยุกต์การศึกษาเชิงนวัตกรรมประยุกต์หรือไม่ผ่าน การพิจารณาของกองบรรณาธิการหรือผู้เชี่ยวชาญ เมื่อบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ผู้เขียนจะได้รับลิ้งก์วารสารที่นำบทความลงตีพิมพ์ผลงานแล้ว พร้อมกับหนังสือรับรองการตีพิมพ์บทความในวารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>Journal History</strong></p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>วารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์ โดยโครงการหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยเริ่มจัดพิมพ์ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน</p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p><strong>บรรณาธิการ</strong></p> </td> </tr> <tr> <td width="602"> <p>เล่มที่ 1: รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร</p> <p>เล่มที่ 2: รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร</p> <p>เล่มที่ 3: รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร</p> <p>เล่มที่ 4: รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร</p> <p>เล่มที่ 5: รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร</p> <p>เล่มที่ 6: รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร</p> <p>เล่มที่ 7: รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร</p> <p>เล่มที่ 8: รองศาสตราจารย์ ดร.ประพันธ์ ศุภษร</p> <p>เล่มที่ 9: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตวงเพชร สมศรี</p> <p>เล่มที่ 10: ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.ตวงเพชร สมศรี</p> <p>เล่มที่ 11: ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.ตวงเพชร สมศรี</p> <p>เล่มที่ 12: ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.ตวงเพชร สมศรี</p> <p>เล่มที่ 13: ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.ตวงเพชร สมศรี</p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> </p> https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JBIR/article/view/277259 A Buddhist Psychological Approach to Enhance Elderly Understanding of Depression 2024-12-12T15:20:07+07:00 Kittiya Nacharoensing lqxzkook@gmail.com Tanet Panhuaphai tanet.p@ku.th Baramee Ariyalerdmett baramee.a@ku.th <p> This research aims to 1) explore the Buddhist psychological approach to communication, 2) study depression in the elderly, and 3) apply Buddhist psychological communication techniques to enhance the understanding of depression in the elderly. Additionally, it seeks to enable caregivers and close individuals to incorporate these methods into their daily lives effectively. The study emphasizes the application of Buddhist psychology principles to enhance the knowledge and understanding of elderly individuals experiencing depression, given the significance of this issue. Effective use of these principles by caregivers or close individuals can foster essential emotional support and understanding, aiding in managing depressive symptoms in the elderly. The research primarily employs document analysis, utilizing primary sources such as the Tipitaka, commentaries, and Buddhist scriptures relevant to Buddhist psychology and mental healing. Secondary sources, including academic articles, research studies, and books on depression and Buddhist psychology, were also reviewed.</p> <p> The research found that 1) understanding the processes of the mind enhances effective communication, starting with mindfulness training, emotional regulation, careful word choice, and the ability to conclude conversations positively. This approach fosters constructive communication, reduces conflict, and builds long-term positive relationships. 2) Elderly individuals often face depression due to physical decline, the loss of loved ones, and isolation, which may manifest as physical symptoms such as fatigue or aches. Caregivers are encouraged to understand the complexities of elderly depression, avoid harmful words, and promote engaging activities that foster relaxation. Despite its complexity, depression is highly treatable with proper care. 3) Applying Buddhist psychological principles in communication—using gentle, compassionate speech—helps elderly individuals feel cared for and supported. This strengthens their confidence in coping with depressive emotions and challenges. Additionally, caregivers benefit from these principles by gaining a deeper understanding of depression and managing issues with mindfulness, enabling more effective support for the elderly. The application of Buddhist psychological approaches not only enhances the emotional stability and well-being of elderly individuals but also strengthens caregiver-elder relationships. While implementing these approaches may require caregivers to acquire knowledge and adapt over time, the outcomes significantly improve the quality of life for both elderly individuals and their caregivers in the long term.</p> 2025-01-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2025 The Journal of Buddhist Innovation Review https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JBIR/article/view/274166 The Comparison Differences of the Potential of Agrotourism Management of Homkhajorn Farm at Suphanburi Province Classified by Demographic Factors 2024-12-22T19:21:57+07:00 Rungroj Yenchaiyapruek rungroj_yen@dusit.ac.th PROUDTEEMA SRIRATU rungroj_yen@dusit.ac.th PHONPHAT INTARAVORRAPHAT rungroj_yen@dusit.ac.th MONGKOL TIAMTANOM rungroj_yen@dusit.ac.th <p>The objectives of this research were to: study the management potential of <br>an agro-tourism destination of Homkhajorn farm and compare the differences of <br>the potential of agrotourism management of Homkhajorn Farm at Suphanburi province classified by demographic factor. The quantitative research was applied for this research. The population and sample were consisted of 400 respondents from <br>Suan Dusit University personnel, students, tourism business operators. tourists, communities, and government agencies. The research tool was a questionnaire set. The statistics used were mean, standard deviation, percentage, t-test and One-way analysis of variance.</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; The results showed that level of opinions about the management potential of an agro-tourism destination of Homkhajorn farm, Suphanburi province at a high level in every perspective in terms of 1) Organizational management structure and tourist attraction development plan. 2) Setting up a systematic area management plan. 3) Safety management for tourists. 4) Waste management in tourist attractions. 5) Acceptance. and cooperation with surrounding communities 7) Conservation of natural resources and the environment 8) Maintenance of public utilities and resources Tourism 9) Sales promotion Add value and develop agricultural products and 10) Advertising and public relations of tourist attractions and the differences of&nbsp; tourist demographic characteristics had different levels of opinion towards <br>the management potential of an agro-tourism destination of Homkhajorn farm, Suphanburi province with the significance level of 0.05 in every aspects such as gender, age, level of education, and occupation; except, the income aspect did not.</p> <p>&nbsp;</p> 2025-01-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2025 The Journal of Buddhist Innovation Review https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JBIR/article/view/277479 Samma Vaca: Tool for Connecting Relationships in Family 2024-12-17T12:49:02+07:00 Pimpawee Sarinwong uthaisati@gmail.com <p>The family is considered to be the oldest institution. And it is the first social institution of human beings. A good family is therefore a valuable human resource of society. The family therefore has many duties, including creating quality people. Creation of new members. At present, it appears that Thai families are in a state of crisis. This causes family problems, such as drug use among youth. child prostitution problem The problem of sexual abuse in children Homeless child problem Problems of abuse in the family Family problems, separation, etc. Applying the principles of right speech to communication to build family relationships according to Buddhist principles consists of 4 things: speaking truthfully, speaking beautifully, and speaking according to the occasion. or speak appropriately to the situation and useful speech. This principle promotes good relationships and peace in the family. Communication with love and understanding will create a good atmosphere and reduce conflict within the family. including being able to build good relationships With a heart of kindness and compassion. and are words that are aesthetically pleasing</p> 2025-01-15T00:00:00+07:00 Copyright (c) 2025 The Journal of Buddhist Innovation Review