@article{สติมั่น_คุ้มครอง_วรินฺโท_2017, title={ภาษาบาลี : ภาษารักษาพระพุทธพจน์}, volume={3}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/240803}, abstractNote={<p style="margin: 0cm; margin-bottom: .0001pt; text-align: justify; text-justify: inter-cluster; text-indent: 36.0pt; tab-stops: 49.65pt; background: white;"><span lang="TH" style="font-size: 16.0pt; font-family: ’TH Niramit AS’;">บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่า ภาษาบาลี หมายถึง ภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์ เป็นภาษาที่มีมาตั้งแต่อดีตกาลประมาณ 2500 ปีมาแล้ว เป็นภาษาถิ่นภาษาหนึ่งที่ใช้พูดกันในแถบแคว้นมคธ เรียกว่า มาคธภาษา ตามชื่อแคว้น เมื่อพระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้น พระองค์ได้ทรงใช้ภาษาบาลีเป็นภาษาในการประกาศพระพุทธศาสนา ส่วนการบันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้าในรูปของภาษาบาลีแบ่งออกเป็น 1) ยุคธรรมวินัย เริ่มตั้งแต่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา จนถึงปรินิพพานรวมเวลา 45 ปีพระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมวินัยด้วยมุขปาฐะ กล่าวคือทรงแสดงธรรมด้วยปากเปล่า พระสาวกก็ทรงจำด้วยมุขปาฐะ 2) ยุคพระไตรปิฎก เริ่มตั้งแต่หลังพุทธปรินิพพาน จนถึงการทำสังคายนาครั้งที่ 3 ประมาณ พ.ศ. 235 รวมถึงผลของสังคายนาครั้งที่ 3 ด้วย ยุคนี้ยังใช้วิธีมุขปาฐะอยู่ 3) ยุคหลังพระไตรปิฎก พระเถระทั้งหลายได้แต่งคัมภีร์อธิบายความหมายในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้นแบ่งได้ 6 ยุคเช่น ยุคอรรถกถา และยุคฎีกาเป็นต้น ฉะนั้น ภาษาบาลีมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพระกาศพระพุทธศาสนา เป็นภาษาที่ไม่เสื่อมไปตามกาลเวลา เป็นภาษาที่รักษาพระพุทธศาสนา เป็นภาษาที่แสดงธรรมของพระพุทธเจ้าที่อยู่ในรูปของพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกาเป็นต้นนั่นเอง</span></p>}, number={2}, journal={วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ }, author={สติมั่น อุทัย and คุ้มครอง วิโรจน์ and วรินฺโท พระมหาวีรธิษณ์}, year={2017}, month={มิ.ย.}, pages={39–52} }