@article{อภิวโร_สติมั่น_ปญฺญาทีโป_2022, title={ศึกษาวิเคราะห์บทบาทของพระคิลานุปัฏฐากในการดูแลสุขภาวะพระสงฆ์}, volume={8}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/258803}, abstractNote={<p>บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “ศึกษาวิเคราะห์บทบาทของพระคิลานุปัฏฐากในการดูแลสุขภาวะพระสงฆ์” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของคิลานุปัฏฐากในคัมภีร์พระพุทธศาสนา  2) เพื่อศึกษาหลักธรรมและวิธีการดูแลสุขภาวะผู้ป่วยสำหรับพระคิลานุปัฏฐากตามหลักพุทธศาสนา และ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักธรรมและวิธีการดูแลสุขภาวะผู้ป่วยสำหรับพระคิลานุปัฏฐากตามหลักพุทธศาสนา  โดยมีระเบียบวิธีการวิจัยเชิงเอกสาร  ผลการวิจัยพบว่า พระคิลานุปัฏฐากมีความรู้ด้านสุขภาพมากกว่าพระสงฆ์ทั่วไป การดูแลสุขภาพตามหลักพระธรรมวินัย คณะสงฆ์พึงส่งเสริมให้มีพระคิลานุปัฏฐากเพื่อคอยดูแลและส่งเสริมสร้างสุขภาพตนเอง อุปัชฌาย์ อาจารย์และสหธรรมิก ที่เอื้อต่อพระธรรมวินัย โดยใช้ประโยชน์ความรู้ด้านสุขภาพจากการอบรมหลักสูตรพระคิลานุปัฏฐากได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม พระคิลานุปัฏฐากที่ดูแลพระสงฆ์อาพาธนั้นต้องสละเวลาและมีความตั้งใจที่จะถวายการรักษา พระสงฆ์ที่อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาพร้อมที่จะถวายการอุปฐากพระสงฆ์ผู้อาพาธด้วยวิธีการต่าง ๆ การนำหลักธรรมมาใช้ในการดำเนินชีวิต เพื่อให้ผู้ป่วยได้เข้าใจตามธรรมและสามารถนำหลักธรรมนี้ไปใช้เพื่อพัฒนาจิตใจของตนให้มีความแข็งแกร่ง พระพุทธองค์ทรงเน้นสอนไตรลักษณ์ ที่เป็นลักษณะเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ที่ประกอบด้วย รูปธรรมและนามธรรม ความไม่เที่ยง เป็นต้น ถือเป็นแก่นของคำสอน การใช้หลักธรรมในการทำงาน เพื่อต้องการให้ความช่วยเหลือผู้อื่นบรรเทาความทุกข์ทางด้านจิตใจ</p> <p>เพราะการเจ็บป่วยและความตายเป็นทุกข์ เป็นภัยของมนุษย์แต่ขณะเดียวกัน ก็เห็นว่าเป็นเรื่องธรรมชาติธรรมดาของทุกชีวิต</p>}, number={2}, journal={วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ }, author={อภิวโร พระครูสังฆรักษ์วรท and สติมั่น อุทัย and ปญฺญาทีโป พระมหาวัฒนา}, year={2022}, month={ก.ค.}, pages={64–72} }