TY - JOUR AU - กลฺยาณจิตฺโต, พระมหาวิจิตร AU - แก้วเขียว, สุธี PY - 2017/06/25 Y2 - 2024/03/29 TI - สังคมนิยมของคาร์ล มาร์กซ์ สะท้อนสังคมไทย JF - วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ JA - JMPR VL - 3 IS - 2 SE - บทความวิชาการ DO - UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/240820 SP - ุึ67-86 AB - <p>สังคมไทยมีลักษณะวิวัฒนาการคล้ายกับสังคมของมาร์กซ์เดิมที่อำนาจ สิทธิเสรีภาพ ความเป็นพลเมืองขึ้นอยู่กับผู้ที่มีอำนาจ และยังคงอยู่ในทุกวันนี้ แต่มีลักษณะที่แฝงอยู่สามารถจัดเป็นลักษณะคือ ๑. โครงสร้างส่วนล่าง ๒.โครงสร้างส่วนบน &nbsp;ในอดีตจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างส่วนล่างถูกกำหนดโดยโครงสร้างส่วนบน แต่ปัจจุบันสถานการณ์แปรเปลี่ยนไปโครงสร้างสังคมส่วนล่างเป็นตัวกำหนดโครงสร้างสังคมส่วนบน หมายถึงทรรศนะทางการเมือง คนส่วนล่างเป็นผู้ตั้งรัฐบาล แต่คนส่วนบนเป็นผู้ล้มรัฐบาลที่ปรากฏสภาพการเมืองมาจนทุกวันนี้ ความจริงภาพสังคมตามแนวคิดของคาร์ล มาร์กซ์ยังคงมีอยู่ การต่อสู้ของคนชั้นกรรมากรเรียกร้องต่างๆก็ยังปรากฏจนนำไปสู่ความขัดแย้งในทุกระดับไม่จะเป็นระดับปัจเจกบุคคล ครอบครัว สังคม รัฐ จนถึงระดับโลก ด้วยความแตกต่างในด้านเป้าหมาย วิธีการ ค่านิยม วัฒนธรรม อันจะนำไปสู่การคิด ความรู้สึก การกระทำต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งแตกต่างกัน ไม่ยอมให้กัน เกิดเป็นความขัดแย้งขึ้น&nbsp; ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา กระแสการเคลื่อนไหวในสังคมโลกส่งผลให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนวิธีคิดของกระบวนการยุติธรรมทางเลือกและการยุติข้อพิพาทใช้กระบวนการในทางอาญาบางประเภทด้วย</p> ER -