THE DEVELOPMENT OF GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM FOR THE USE OF LAND TO GROW HERB IN MUANG KAEN PATTANA MUNICIPALITY, CHIANG MAI

Authors

  • อรนุช พันโท Chiang Mai Rajabhat University

Keywords:

Geographic Information System (GIS), herb, Muangkaen Pattana Muicipality

Abstract

               The development of Geographic Information Systems (GIS) is to display the utilization of land for the cultivation of the herb plantation in the Muang Kaen Pattana Municipality, Chiangmai Province. It aimed to develop the geographic information system to display the utilization of land for the cultivation of the herb plantation in the Muang Kaen Pattana Municipality, Chiangmai Province and to analyze the level of satisfaction towards the use of the geographic information system. This work is applied research that allows people in the community to participate in system development, information and suggestion provision, and system testing. The research found that the developed system obliges its users to quickly find the location of the coordinates of land for the cultivation of the herb plantation in the Muang Kaen Pattana Municipality, Chiangmai Province. The results of the questionnaire on the satisfaction of the system use revealed that the sample 0.45 was satisfied with the performance of the system mostly on the developed level with an average of 4.53 and the standard deviation of 0.45. It was followed by the geographic information system’s usefulness and application with an average of 4.47. When compared with the criteria set, it was found to be at an acceptable level.

References

กวินธร เสถียร, นิสาพร วัฒนศัพท์ และเสวียน เปรมประสิทธิ์. (2555). การใช้ประโยชน์ทรัพยากรพรรณพืชของชุมชนในพื้นที่เขื่อนสิริกิติ์. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 5(1), หน้า 74-90.
กิติยา ทัศนะบรรจง. (2560). พฤติกรรมของผู้ซื้อสินค้าบริการทางช่องทางออนไลน์ของประชากรในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 14(2), หน้า 22-31.
ณรงค์ พลีรักษ์. (2556). ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อจัดการการท่องเที่ยวชุมชนในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ, 36(2), หน้า 235-248.
ปรางทิพย์ บัวเฟื่อง. (2557). การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ในการศึกษาการกระจายการระบาดของโรคไข้เลือดออก (DHF) ในพื้นที่อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม, คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พุทธพร ไสว. (2559). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์การให้บริการขนส่งสาธารณะในเขตเทศบาลนครนครสวรรค์. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 9(1),
หน้า 49-60.
วิริญญา เมืองช้าง, วรรณรัตน์ รัตนวรางค์ และเกสร สำเภาทอง. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. ใน การประชุมวิชาการระบบสุขภาพชุมชนระดับชาติ: การขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชนสู่ความเป็นธรรมและยั่งยืนด้านสุขภาพ ครั้งที่ 1 (หน้า 131-141). กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
วีรศักดิ์ ฟองเงิน และคณะ. (2559). ระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์พื้นที่ปลูกข้าวโพดและการนำของเหลือใช้จากข้าวโพดผลิตถ่านอัดแท่ง ในพื้นที่ตำบลนาแก อำเภองาว จังหวัดลำปาง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ 2559: สังคม ความรู้ และดิจิทัล ครั้งที่ 2 (หน้า 147-159). กรุงเทพฯ: คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
อรยา ปรีชาพานิช และสุดา เธียรมนตรี. (2558). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกของจังหวัดสงขลา. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 18(3), หน้า 161-169.

Downloads

Published

2019-09-30

Issue

Section

บทความวิจัย