THE DEVELOPMENT OF GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM FOR TOURISM IN MUANG KAEN PATTANA MUNICIPALITY, CHIANG MAI

Authors

  • รสลิน เพตะกร chiang mai rajabhat university

Keywords:

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์, ท่องเที่ยว, เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา

Abstract

            The objective of this research is to develop the geographic information system for tourism in Muang Kaen Pattana Municipality, Chiang Mai. This is a research and development blueprint. The research development employed PHP as the programming language. MySQL is a database management system and Google Map API technology to display information on online maps. The sample groups consisted of 6 experts as quality assessment samples using the purposive sampling method and 62 user samples using the simple random sampling method. The research instruments are: 1) interview, 2) inquiry, 3) systematic quality assessment, and 4) satisfaction assessment. The results are analyzed by descriptive statistic, means and standard deviation. Tourist attractions in Muang Kaen Pattana Municipality are 64 locations, which can be divided into 3 routes according to the economic policy of the city as follows: 1) all tourist routes, 2) natural attractions routes, and 3) historical tourist routes. The result of satisfaction assessment of users is high level.

Author Biography

รสลิน เพตะกร, chiang mai rajabhat university

 อาจารย์ประจำภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

References

ณรงค์ พลีรักษ์. (2556). ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อจัดการการท่องเที่ยวชุมชนในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ, 36(2), หน้า 235-248.
ณัฏฐพัชร มณีโรจน์ และสุวิทย์ สุวรรณโณ. (2560). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว กับการท่องเที่ยวแบบไม่รีบเร่ง อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 14(1), หน้า 202-213.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
เพ็ญประไพ ภู่ทอง, จิตรพงษ์ เจริญจิตร และณัฑริกา แซ่จิ้ว. (2559). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวทางธรรมชาติในตำบลคลองศก อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7 (หน้า 1437-1448). หาดใหญ่: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
สมเกียรติ ช่อเหมือน, ศักดิ์ชัย ใจดี และสมโภชน์ เกษตรไพสิฐ. (2557). การพัฒนาแอนดรอยด์แอพพลิเคชั่นสําหรับการท่องเที่ยว กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิชาการราชภัฏตะวันตก, 9(1), หน้า 49-60.
สุธิรา จันทร์ปุ่ม, พิเชนทร์ จันทร์ปุ่ม และแพรตะวัน จารุตัน. (2560). การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสกลนคร บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 4(2), หน้า 114-120.

Downloads

Published

2019-12-31

Issue

Section

บทความวิจัย