การวิเคราะห์และหาแนวทางในการลดต้นทุนการขนส่ง
คำสำคัญ:
วิเคราะห์ต้นทุน, การขนส่ง, มิลค์รันบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และหาแนวทางในการลดต้นทุนการขนส่งของบริษัทกรณีศึกษา จากสถิติข้อมูลย้อนหลัง 3 เดือนของบริษัทกรณีศึกษาในเขตพื้นที่กรุงเทพฯฯ และปริมณฑล โดยแบ่งแนวทางการศึกษาออกเป็น 3 แนวทาง คือ 1) วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของต้นทุนการขนส่งสินค้าเองทั้งหมด 2) วิเคราะห์ต้นทุนค่าขนส่งที่เหมาะสมของผู้รับจ้างขนส่ง 3) วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของต้นทุนการขนส่งแบบผสม ซึ่งทั้ง 3 แนวทางนี้ได้คำนวณต้นทุนจากการจัดเส้นทางการขนส่งแบบมิลค์รัน (milk-run) และเปรียบเทียบผลการศึกษา พบว่าการขนส่งแบบผสมระหว่างการขนส่งเองร่วมกับการว่าจ้างผู้ขนส่ง สามารถลดต้นทุนได้ร้อยละ 19.06
References
เกียรติพงษ์ อุดมธนะธีระ. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อต้นทุนการขนส่งสินค้า (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://www.iok2u.com/index.php/article/logistics-supply-chain/684-ct51-123 [2563, 20 กันยายน].
จัตตุรงค์ เพลินหัด. (2558). การจัดการต้นทุนโลจิสติกส์. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ชุติพงศ์ มัธยกุล. (2555). การวิเคราะห์ต้นทุนและความสูญเสียจากการขนส่งสินค้าเกษตร กรณีศึกษา
การขนส่งผักกะหล่ำปลี จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
วิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐดนัย สุวรรณบัตร. (2557). การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งสินค้าเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน กรณีศึกษา บริษัทผู้ให้บริการขนส่งแห่งหนึ่ง. การศึกษาโดยอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
ธนสิทธิ นิตยะประภา. (2559). การบริหารต้นทุนโลจิสติกส์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร ครั้งที่ 3 (ฉบับที่ 2) (หน้า 468-476). กําแพงเพชร: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏกําแพงเพชร.
วีรชัย โสธนนันทน์ และพงษ์สันธ์ บัณฑิตสกุลชัย. (2563). แบบจำลองเชิงพฤติกรรมการใช้คาร์แชริ่ง:
กรณีศึกษาผู้ใช้งานรถจักรยานยนต์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://conference.thaince.org/index.php/ncce25/article/view/275/188 [2563, 20 กันยายน].
Banker, Rajiv D., et al. (2018). Cost management research. Journal of Management Accounting
Research, 30(3), pp. 187-209.
Muha, Robert. (2019). An overview of the problematic issues in logistics cost management. Scientific
Journal of Maritime Research, 33, pp. 102-109.
จัตตุรงค์ เพลินหัด. (2558). การจัดการต้นทุนโลจิสติกส์. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ชุติพงศ์ มัธยกุล. (2555). การวิเคราะห์ต้นทุนและความสูญเสียจากการขนส่งสินค้าเกษตร กรณีศึกษา
การขนส่งผักกะหล่ำปลี จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
วิศวกรรมโยธา, คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐดนัย สุวรรณบัตร. (2557). การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งสินค้าเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน กรณีศึกษา บริษัทผู้ให้บริการขนส่งแห่งหนึ่ง. การศึกษาโดยอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, สำนักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
ธนสิทธิ นิตยะประภา. (2559). การบริหารต้นทุนโลจิสติกส์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร ครั้งที่ 3 (ฉบับที่ 2) (หน้า 468-476). กําแพงเพชร: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏกําแพงเพชร.
วีรชัย โสธนนันทน์ และพงษ์สันธ์ บัณฑิตสกุลชัย. (2563). แบบจำลองเชิงพฤติกรรมการใช้คาร์แชริ่ง:
กรณีศึกษาผู้ใช้งานรถจักรยานยนต์รับจ้างในเขตกรุงเทพมหานคร (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://conference.thaince.org/index.php/ncce25/article/view/275/188 [2563, 20 กันยายน].
Banker, Rajiv D., et al. (2018). Cost management research. Journal of Management Accounting
Research, 30(3), pp. 187-209.
Muha, Robert. (2019). An overview of the problematic issues in logistics cost management. Scientific
Journal of Maritime Research, 33, pp. 102-109.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
2021-10-02
ฉบับ
บท
บทความวิจัย
License
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี