ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการตลาดกับการเลือกใช้บริการนวดสปา ในพื้นที่ซอยอารีย์ เขตพญาไท กรุงเทพมหานครของประชาชนคนไทย

ผู้แต่ง

  • พูนทรัพย์ เศษศรี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม
  • สุจิตรา ริมดุสิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม
  • ฉันทัช วรรณถนอม สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม
  • ชลิตา อารียรมย์ สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

คำสำคัญ:

ปัจจัยทางการตลาด, การบริการนวดสปา, ประชาชนคนไทย

บทคัดย่อ

             การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการนวดสปาในพื้นที่ซอยอารีย์ เขตพญาไท กรุงเทพมหานครของประชาชนคนไทย และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ปัจจัยทางการตลาดกับการเลือกใช้บริการนวดสปาในพื้นที่ซอยอารีย์ เขตพญาไท กรุงเทพมหานครของประชาชนคนไทย กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนคนไทย จำนวน 400 คน ด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นแบบสอบถามมีค่าความความเชื่อมั่นอยู่ที่ .86 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมติฐานการวิจัยคือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ที่นัยสำคัญทางสถิติ .05

          ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนคนไทยที่เข้ามาใช้บริการนวดสปาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุอยู่ระหว่าง 20-30 ปี มีอาชีพเป็นพนังงานบริษัทเอกชน และมีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ทั้งนี้จากการศึกษาปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการนวดสปาในพื้นที่ซอยอารีย์ เขตพญาไท กรุงเทพมหานครของประชาชนคนไทยคือ ปัจจัยด้านกระบวนการการให้บริการของร้านสปา (gif.latex?\bar{X}=4.48, SD=0.50) รองลงมาปัจจัยด้านบุคคลกรของร้านสปา ( gif.latex?\bar{\bar{X}}=4.48, SD=0.51) และจากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการตลาดกับการเลือกใช้บริการนวดสปาในพื้นที่ซอยอารีย์ เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ของประชาชนคนไทย พบว่าปัจจัยทางการตลาดทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านสถานที่ ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านบุคคลากร ด้านกระบวนการการให้บริการ และด้านองค์ประกอบทางกายภาพ มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการนวดสปาของประชาชนคนไทยอยู่ในระดับมากที่สุดที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05  

Author Biographies

พูนทรัพย์ เศษศรี, สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ  มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

สุจิตรา ริมดุสิต, สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

ฉันทัช วรรณถนอม, สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

ชลิตา อารียรมย์, สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ วิทยาลัยการจัดการอุตสาหกรรมบริการ  มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา วิทยาเขตนครปฐม

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2565). ธุรกิจ "สปา" แนวโน้มเติบโต 17% ต่อปี หลังวิกฤติโควิด-19 (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://www.bangkokbiznews.com/social/983284 [2565, 13 พฤศจิกายน].

จิตพิสุทธิ์ หงษ์ขจร. (2560). ส่วนประสมทางการตลาด 7Ps ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพบ่อน้ำพุร้อนรักษะวาริน จังหวัดระนอง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา, คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2541). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: เทพเนรมิตการพิมพ์.

ณัฐฐา สุขภักตร์. (2558). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการเลือกใช้บริการสปาของผู้บริโภคในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก.

ดวงเนตร ธรรมกุล. (2563). ดุสิตโพลระบุ'โควิด-19' ทำให้คนไทยหันมาดูแลตัวเองเพิ่มขึ้น (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://www.thaipost.net/main/detail/87384 [2565, 13 พฤศจิกายน].

ธนวรรณ แสงสุวรรณ. (2547). การจัดการการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.

เบญจมาศ ศิริกมลเสถียร และอัจฉรา สกุนตนิยม. (2561). ผลของการนวดด้วยตนเองต่อความปวดของผู้สูงอายุ ในชุมชนริมคลองหลอแหล เขตคันนายาว.

วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 38(3), หน้า 92-101.

ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์. (2562). การอยู่ร่วมกันของสมาชิกในครัวเรือนไทย พ.ศ.2539-2560: การจำแนกรูปแบบด้วยกลุ่มวัย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ “ประชากรและสังคม” (หน้า 37-49) นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ภักดี กลั่นภักดี. (2560). ปัจจัยด้านมาตรฐานของสถานประกอบกิจการสปาเพื่อสุขภาพระดับสากลที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยว, คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ภัคนภัสส์ ภาเรือง, อนันต์ สุนทราเมธากุล และกิตติมา จึงสุวดี. (2566). ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการนวดแผนไทย โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี, 10(1), หน้า 117-130.

มะปราง. (2566). การนวดยอดนิยม 10 ประเภท และประโยชน์เพื่อสุขภาพ (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://rlax.me/th/blog/massage-types/ [2566, 14 ธันวาคม].

วิเชียร เกตุสิงห์. (2538). สถิติที่ใช้ในการวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). กลยุทธ์การตลาดและการบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ: ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์.

สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (2563). การดูแลสุขภาพของคนไทยในปี 2020 (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://dusitpoll.dusit.ac.th/UPLOAD_FILES/POLL/2563/PS-2563-1608422294.pdf [2565,13 พฤศจิกายน].

สุจิตรา ริมดุสิต และพูนทรัพย์ เศษศรี. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกแหล่งท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวกลุ่มครอบครัว กรณีศึกษา จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 18(2), หน้า 127-140.

สุพรรณี ผุดผ่องอนันต์. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการสปาของผู้ใช้บริการในตำบลราชาเทวะ จังหวัดสมุทรปราการ. ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด.

สุวิมล ติรกานันท์. (2548). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัณณ์จิรภา ธนาชัยกุลวัฒน์ และศรัญญา กันตะบุตร. (2563). กระบวนการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวต่างชาติในการเลือกท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว. ใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติและระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและการบัญชี (หน้า 118-127). เชียงใหม่: คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Cochran, W. G., Mosteller, F., & Tukey, J. W. (1953). Statistical problems of the Kinsey report. Journal of the American Statistical Association, 48(264), pp. 673-716.

Cronbach, L.J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16(3), pp. 297-334.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-02-09