PSDS Journal of Development Studies,Puey Ungphakorn School of Development Studies, Thammasat University https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu <p><strong>"วารสารพัฒนศาสตร์"</strong> วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<strong> เปลี่ยนชื่อจากเดิม คือ "วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร"</strong> <strong>ตีพิมพ์ฉบับที่ 1 ในปี พ.ศ. 2548</strong> เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และผลงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับบทบาทของ "บัณฑิตอาสาสมัคร" วัฒนธรรมการเรียนรู้ การศึกษา องค์ความรู้จากในพื้นที่ชนบทที่บัณฑิตอาสาสมัครได้ลงพื้นที่ปฏิบัติงานภาคสนาม ได้ดำเนินการพัฒนาและปรับปรุงเรื่อยมาจนในปี พ.ศ.2561 ที่สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร ได้ยกสถานะเป็นวิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ชื่อวารสารจึงได้เปลี่ยนเป็น "วารสารพัฒนศาสตร์" และใช้มาจนถึงปัจจุบัน</p> <p><strong>จุดมุ่งหมายและขอบเขต</strong></p> <p>วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ แลกเปลี่ยนแนวคิด ความรู้ ความก้าวหน้าใหม่ในลักษณะสหสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ โดยเปิดรับบทความวิชาการ บทความวิจัย และผลงานวิชาการลักษณะอื่นๆ ที่ครอบคลุมประเด็นการศึกษาวิจัยและปฏิบัติการพัฒนาในระดับชุมชนท้องถิ่น ชุมชนเมือง ทั้งในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การบริหารจัดการทรัพยากร ทุนทางสังคม การปฏิบัติพัฒนา และการสร้างสรรค์นวัตกรรมสำหรับพัฒนามนุษย์และสังคม</p> <p><strong>การประเมินบทความ</strong></p> <p>ประเมินคุณภาพบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องกับบทความ จำนวน 3 ท่าน/บทความ</p> <p><strong>กระบวนการพิจารณาบทความ</strong></p> <p>การพิจารณาบทความเป็นไปตามข้อกำหนดการตีพิมพ์วารสาร</p> <ol> <li>บทความที่เสนอเข้ามาเพื่อขอรับการตีพิมพ์ต้องไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่มาก่อน และไม่อยู่ในระหว่างการพิจารณาของวารสารอื่น</li> <li>บทความมีประเด็นหรือแนวคิดที่ชัดเจน มีสาระทางวิชาการที่ถูกต้อง การวิเคราะห์เป็นไปตามแนวคิดหรือทฤษฎีที่เหมาะสม มีข้อเท็จทางวิชาการ ค้นคว้าอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและเชื่อถือได้ นำเสนอข้อมูลเข้าใจง่าย ใช้ศัพท์และภาษาทางวิชาการที่ถูกต้องเหมาะสม และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาที่เป็นไปตามรูปแบบการอ้างอิงที่วารสารกำหนด</li> <li>ผู้นิพนธ์ยินยอมให้กองบรรณาธิการสรรหาผู้เชี่ยวชาญกลั่นกรองโดยอิสระ เพื่อพิจารณาคุณภาพของบทความและสามารถตรวจแก้ไขบทความได้ตามที่เห็นสมควร</li> <li>บทความจะได้รับการกลั่นกรองเบื้องต้นโดยกองบรรณาธิการขั้นต้นและส่งให้ผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก <strong>(</strong><strong>peer-reviewers) จำนวน 3 ท่าน</strong>พิจารณาในรูปแบบ Double-Blinded จากนั้นจึงจะส่งผลการประเมินและข้อเสนอแนะกลับไปยังผู้นิพนธ์ปรับแก้ไขส่งกลับคืนวารสารตามเวลาที่กำหนด</li> <li>ทัศนะและข้อคิดเห็นในวารสารพัฒนศาสตร์เป็นของผู้นิพนธ์บทความ ผู้ประสงค์จะนำข้อความใด ๆ ไปพิมพ์เผยแพร่ต่อไปต้องได้รับอนุญาตจากผู้นิพนธ์และโปรดแจ้งให้ทางวารสารทราบ</li> </ol> <p><strong>Types of articles (ประเภทของบทความ) </strong></p> <ol> <li><span style="font-weight: 400;">บทความวิจัย (research article) </span></li> <li><span style="font-weight: 400;">บทความวิชาการ (academic article) </span></li> </ol> <p><strong>Language (ภาษาที่รับตีพิมพ์)</strong></p> <ul> <li><span style="font-weight: 400;">ภาษาไทย</span></li> <li><span style="font-weight: 400;">ภาษาอังกฤษ</span></li> </ul> <p><strong>Publication Frequency (กำหนดออก)</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">วารสารตีพิมพ์ 2 ฉบับต่อปี</span></p> <ul> <li><span style="font-weight: 400;">ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน เผยแพร่เดือนมิถุนายน</span></li> <li><span style="font-weight: 400;">ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม เผยแพร่เดือนธันวาคม</span></li> </ul> <p><strong>Processing fees (การเก็บค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์)</strong></p> <p><strong> <span style="font-weight: 400;">วารสารไม่ได้มีการเก็บค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ใดๆ ในทุกขั้นตอน</span></strong></p> <p> <strong>Publisher (เจ้าของวารสาร)</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</span></p> en-US psdsjournal.tu@gmail.com (ดร.ธิดารัตน์ ศักดิ์วีระกุล) thidathip1@outlook.com (Thidathip Supawong) Wed, 28 Jun 2023 07:36:39 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 Sovereign Power, Subjectivity, and Agency in the Southern Border Provinces https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/264443 <p> บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอำนาจเหนือชีวิตในจังหวัดชายแดนใต้ การบ่มเพาะบุคคลของอำนาจเหนือชีวิต รวมถึงการสร้างตัวตนและการแสดงศักยภาพกระทำการของบุคคลผ่านอำนาจเหนือชีวิตดังกล่าว โดยอาศัยหมู่บ้านใน อ.รามัน จ.ยะลา เป็นพื้นที่วิจัย และอาศัยการศึกษาภาคสนามซึ่งประกอบด้วยการสัมภาษณ์และการสังเกตเป็นวิธีวิจัยหลัก เสริมด้วยการวิจัยเอกสาร ผลการวิจัยพบว่าผู้มีอำนาจเหนือชีวิตในพื้นที่ประกอบด้วย ทหาร ผู้นำทางการ ผู้ก่อความไม่สงบ และผู้ประกอบธุรกิจผิดกฎหมาย ซึ่งแต่ละกลุ่มมีที่มาของอำนาจต่างกัน ทหารจาก “กฎหมายพิเศษ” ผู้นำทางการจากการถ่ายโอนอำนาจอย่างไม่เป็นทางการจากทหาร ผู้ประกอบธุรกิจผิดกฎหมายจากการสัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่นอกแถวและปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ และผู้ก่อความไม่สงบจากการตีความศาสนาอิสลาม โดยผู้มีอำนาจเหนือชีวิตแต่ละกลุ่มบ่มเพาะบุคคลด้วยกลวิธีแตกต่างกัน ทหารอาศัยรัฐพิธี ผู้นำทางการใช้การอุปถัมภ์ค้ำชู ผู้ก่อความไม่สงบใช้ศาสนา ส่วนผู้ประกอบธุรกิจผิดกฎหมายใช้ความรุนแรง ซึ่งไม่ได้ประสบความสำเร็จอย่างสมบูรณ์ เพราะประสบ การขัดขืน อีกทั้งยังเป็นเงื่อนไขให้บุคคลสร้างตัวตนที่แตกต่างขึ้นมา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือเป็นแหล่ง อิงอาศัยในการแสดงศักยภาพกระทำการของบุคคล อย่างไรก็ดี การสร้างตัวตนและการแสดงศักยภาพกระทำการผ่านอำนาจเหนือชีวิตในลักษณะเช่นนี้ไม่เอื้อต่อการอยู่ร่วมกันอย่างเสมอหน้า และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ยังดำเนินต่อไป จึงจำเป็นต้องยุติเงื่อนไขที่ก่อให้เกิดอำนาจเหนือชีวิตขึ้นมา ได้แก่ กฎหมายพิเศษ ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบลำดับขั้น และการผูกขาดความถูกต้องชอบธรรมจากศาสนา เพื่อที่จะคลี่คลายปัญหาที่คนในพื้นที่ประสบได้ </p> <p> </p> Anusorn Unno Copyright (c) 2023 อนุสรณ์ อุณโณ https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/264443 Wed, 28 Jun 2023 00:00:00 +0700 Recognizing the unequal power: Experience of teacher activists on renouncing the use of violence in Thai schools https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/261407 <p>This qualitative research studied experiences of public secondary school teachers in Thailand who resisted the use of violence in classroom management and school. The article explores why these teachers chose to shun violence or advocate for this issue, how they campaigned for change. A critical education framework was used to demonstrate how teaching may be deemed political activism, while the concept of social justice was employed to theorize activist goals. Data was collected by semi-structured interviews. Results were that awareness of the interrelationship between violence, unequal power structure, and unbalanced power relations within the Thai educational system influenced teachers to renounce violence in classroom management. Instead, they emphasized empowerment and reduced hierarchical teaching and classroom management methods. They also formed alliance inside and beyond the school. These findings suggest that implicit activism, including change in learning process, may be theorized as a social justice movement insofar as teaching and classroom management aim to empower students who had been rendered powerless.</p> Ganon Koompraphant, U-lacha Laochai Copyright (c) 2023 Ganon Koompraphant, U-lacha Laochai https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/261407 Wed, 28 Jun 2023 00:00:00 +0700 A Social Support Approach to Develop Geriatric Skills to Improve Media Literacy https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/263522 <p>This research presents data about social media use among geriatric dwellers in six districts of the Bangkok Metropolitan Area (BMA): Thawi Watthana, Samphanthawong, Nong Khaem, Bang Kapi, Sathon, and Bangsue. Social media and media literacy behavior of old residents were analyzed to create safe, effective, and informed social media use guidelines. Social support should be the main motivation for the social networking group, exchanging knowledge among public, private, and civil society sectors to enhance the potential of BMA retirees. In addition, youth technology volunteer groups facilitated social media access, promoting intergenerational communication. </p> <p> Mixed methods research was done. Quantitative results on social support affecting online media use by studying material, emotional, informational, and social interaction support were that social interaction was most influential (mean = 2.76), followed by emotional (mean = 2.65) and informational (mean = 2.57), respectively.</p> Benjarat Sutjakul, Kosin Theswong , Suteera Saenmontrikul Copyright (c) 2023 เบญจรัตน์ สัจกุล, โกสิน เทศวงษ์, สุธีรา แสนมนตรีกุล https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/263522 Wed, 28 Jun 2023 00:00:00 +0700 The Studying of Community Waste Management Model Motivation from Community Social Capital : A Case Study of Bang Rawnok Moo 7, Maha Sawat Subdistric, Bang Kruai District Nonthaburi Province https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/263278 <p>Accelerating the process of economic growth by using transportation development and expanding the production base to a potential region may partially cause community waste problems. Some Communities resolve this issue by using community social capital such as leaders and community alliances for community development. Bang Rawnok Moo 7, Maha Sawat Subdistric, Bang Kruai District Nonthaburi Province was a community encountering a waste problem, resolved through community Social capital. This qualitative research studied the community waste management motivational model though community Social capital.</p> <p> Results were that individual social capital was used during the initial stage, including leaders, community alliances, and abbot of Wat Kho Non Maha Sawat. Secondly, community organization grants enlisted leaders Village health Volunteers a village committee, volunteers protecting natural resources and the environment,</p> <p> School health, social development and security, and security, Volunteers Wat Kho Non Maha Sawat School, Kho Non Maha Sawat Temple,and Maha Sawat Health Promoting Hospital. Thirdly social capital of natural resources was influential through Khlong Maha Sawat. Fourthly agency and network Social capital were operational through Bang Kruay District community Development office, Community Organization Development Institute, and Maha Sawat Subdistrict Non-Formal Education Center. Finally three important processes resolved the community waste problem: 1) raising community awareness to grasp the significance of community environmental problems 2) shaaring waste separation knowledge and 3) collaborating with agencies establishing a waste bank to manage waste sustainably.</p> wuttichai Saybunjaung Copyright (c) 2023 วุฒิชัย สายบุญจวง https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/263278 Wed, 28 Jun 2023 00:00:00 +0700 Common-Pool Resources Model for Self-reliance of Ban Noi Butawong, Nong Khu Sub-district, Lam Plai Mat District, Buriram Province https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/263205 <p>The objectives of the research were to 1) study knowledge of Common-Pool Resources towards self-reliance of Ban Noi Butawong community, Nong Khu Sub-district, Lam Plai Mat District, Buriram Province Buriram Province, 2) develop Common-Pool Resourcestowards self-reliance of Ban Noi Butawong people by using the Community Based Research, CBR. The researcher collected data by In-depth interviews, focus group discussions, walk surveys, participatory observations, and organizing forums with the community. The results of the study revealed that the knowledge of Ban Noi Butawong Common-Pool Resourceswas as follows: 1) The knowledge of six role models who practiced integrated farming as a learning center for interested persons to apply the knowledge for self-development, namely, Mr. Somsak Sararam, Mr. Butsri Pasatcha, Ms. Suchanya Jitchatree, Mrs. Sopha Yai-im, Mr. Sa-nga Sukthawee, and Mrs. Wipenphak Sodrum, and 2) the knowledge of shared resource management in the past, which is Nong Nok Pond, where people used together. Later, Nong Nok Pond was developed as the shared community agricultural plots with the installation of a water system. This community farmland generated self-reliance in 5 aspects: 1) Technology, 2) Economy, 3) Natural Resource, 4) Mind, and 5) Social and Culture. This study can be considered as laying the foundation for community development, preparing for changes that will occur in the future, as well as, responding to the direction of the country's development that focuses on encouraging people to solve their problems based on community resources.</p> Miss sujitra yangnok, khemeka Ar-rom , Ruethaiphat Haisirikula Copyright (c) 2023 นางสาวสุจิตรา ยางนอก, เขมิกา อารมณ์ , ฤทัยภัทร ให้ศิริกุล https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/263205 Wed, 28 Jun 2023 00:00:00 +0700 บทบรรณาธิการ https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/266368 Thidarat Sukveerakul Copyright (c) 2023 ธิดารัตน์ ศักดิ์วีระกุล https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so05.tci-thaijo.org/index.php/gvc-tu/article/view/266368 Wed, 28 Jun 2023 00:00:00 +0700