@article{แพงไทย_2019, place={Bangkok, Thailand}, title={บทบาทผู้บริหารกับการนานวัตกรรมการศึกษาสู่การปฏิบัติ : กรณีโรงเรียนคูคาพิทยาสรรพ์}, volume={9}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/213804}, DOI={10.53848/irdssru.v9i1.213804}, abstractNote={<p>ใช้นวัตกรรมการศึกษา ชั้นเรียน และวิธีการแบบเปิด 2) ศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาใน<br>การนานวัตกรรมทางการศึกษาสู่การปฏิบัติ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ ประชาการ<br>และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถาณศึกษา ครูผู้สอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ปกครองนักเรียน โรงเรียนคูคาพิทยาสรรพ์ จานวน 122 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า 1) ด้านบริบท โรงเรียนคูคาพิทยาสรรพ์ ได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียน<br>ทดลองนาร่อง การใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน โดยมหาวิทาลัยขอนแก่น ภายใต้โครงการโรงเรียนใน<br>ฝันเพาะปัญญา ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านปัจจัย มีการจัดสรรงบประมาณ<br>เพื่อการใช้นวัตกรรมของโรงเรียน โดยจัดเตรียมสิ่งอานวยความสะดวก เช่น สื่อ ครุภัณฑ์ และอาคาร<br>สถานที่ มีผู้เชี่ยวชาญภายนอกจากสถาบันอุดมศึกษาเข้ามาร่วม ในกระบวนการใช้นวัตกรรม ด้านกระบวนการมีการวางแผนการใช้นวัตกรรม กาหนดปฏิทินการดาเนินงาน การร่วมสร้างแผนการจัดการเรียนรู้การสังเกตชั้นเรียน และการสะท้องผลการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหารเข้าร่วมในกระบวนใช้นวัตกรรม<br>ทุกกิจกรรม และ ผลการการใช้นวัตกรรม โรงเรียนได้รับการคัดเลือกให้เป็นต้นแบบการใช้นวัตกรรม<br>จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น และเป็นแหล่งศึกษาดูงานจากหน่วยงานทางการศึกษา คณะผู้บริหาร ครูจาก<br>ทั่วประเทศ ครูมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการสอน มีการจัดการเรียนการสอนตอบสนองต่อความ<br>ต้องการของผู้เรียน มีการทางานเป็นทีม ครูพัฒนาวิชาชีพ ผู้เรียน กล้าคิดกล้าแสดงออกอย่างมีเหตุผล<br>มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความเป็นผู้นา สถานศึกษามีเอกลักษณ์ของตนเอง มีระบบการนิเทศภายในที่<br>เข้มแข็ง เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ชุมชนพึงพอใจและมีส่วนร่วม 2) ด้านบทบาทของผู้บริหารใน<br>ภาพรวมทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมาก ส่วนในรายด้านพบว่า ด้านการเป็นผู้อานวยความสะดวก ผู้ตอบ<br>แบบสอบถามเห็นด้วยมากที่สุด รองลงมาคือ การเป็นผู้นานวัตกรรม การเป็นผู้นา และการเป็น<br>ผู้สนับสนุนตามลาดับ</p>}, number={1}, journal={วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา}, author={แพงไทย ศศิรดา}, year={2019}, month={ก.ย.}, pages={124} }