@article{ตรีสวัสดิ์_2019, place={Bangkok, Thailand}, title={การสื่อสารอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี}, volume={9}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/213862}, DOI={10.53848/irdssru.v9i1 SUP.213862}, abstractNote={<p>การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอ<br>โพธาราม จังหวัดราชบุรี และหาแนวทางการอนุรักษ์อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอโพธาราม<br>จังหวัดราชบุรี ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพศึกษาวัด จานวน 70 แห่ง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง<br>เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นากลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง เจ้าอาวาส ร่วมกับการสารวจเอกสาร การสารวจวัด<br>และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมสิ่งปลูกสร้างในวัด กิจกรรม และประเพณีพิธีกรรมของชาวลาวเวียง<br>ทั้งทางสังคม ศาสนา และวัฒนธรรมที่กระทาโดยใช้พื้นที่ของวัด ผลพบว่า ลาวเวียงในอาเภอโพธาราม<br>สืบเชื้อสายมาจากชาวลาวที่อพยพมาจากเวียงจันทน์เพราะสงคราม และสร้างวัดขึ้นในชุมชนเพื่อเป็น<br>ศูนย์รวมจิตใจของกลุ่มชาติพันธุ์ วัดที่สื่อสารอัตลักษณ์ของลาวเวียงที่เป็นรูปธรรมจากสิ่งปลูกสร้างในวัด<br>คือ สิมลาวที่วัดกาแพงเหนือ และหอวัฒนธรรมลาวเวียงที่วัดโบสถ์ การสื่อสารอัตลักษณ์ของชาวลาวเวียง<br>ด้านจิตใจสะท้อนผ่านพิธีกรรม ความเชื่อ เช่น การสวดสู่ขวัญนาคด้วยภาษาลาว ความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษ<br>ความศรัทธาในพุทธศาสนาผ่านประเพณีต่าง ๆ เช่น บุญข้าวจี่ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 3 แห่ดอกไม้ท้ายสงกรานต์<br>แก้ห่อข้าววันสารทลาว แนวทางการอนุรักษ์อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ลาวเวียงของวัดในอาเภอโพธาราม คือ<br>ใช้ศรัทธาและความเชื่อในพุทธศาสนาสืบทอดประเพณีจากรุ่นสู่รุ่น สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่าง<br>ชาวลาวเวียง และระหว่างวัด รวมทั้งอนุรักษ์สิ่งปลูกสร้างในวัดที่แสดงอัตลักษณ์ลาวเวียงไว้ให้อนุชน<br>ภาคภูมิใจ ได้เรียนรู้ และสืบทอดต่อไป</p>}, number={1 SUP}, journal={วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา}, author={ตรีสวัสดิ์ วนิดา}, year={2019}, month={ก.ย.}, pages={11} }