@article{เรืองวรรณศักดิ์_2019, place={Bangkok, Thailand}, title={การศึกษาคุณลักษณะดอกบัวแดง เพื่อถอดแบบลวดลาย สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก}, volume={9}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214216}, DOI={10.53848/irdssru.v9i2.214216}, abstractNote={<p>การศึกษาคุณลักษณะดอกบัวแดง เพื่อถอดแบบลวดลายสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก<br>วัตถุประสงค์งานวิจัย 1) ศึกษาคุณลักษณะของดอกบัวแดง เพื่อทาการวิเคราะห์และถอดแบบลวดลาย<br>2) นาลวดลายดอกบัวแดงมาประยุกต์สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่<br>ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบกราฟิก จานวน 3 ท่าน แบบประเมินผลงานการออกแบบ จากนั้น<br>สร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกแล้วประเมินความพึงพอใจโดยกลุ่มผู้บริโภค วิธีการคัดเลือก<br>แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Selection) จานวน 300 คน<br>ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะทางกายภาพที่สามารถสื่อถึงลักษณะเฉพาะของดอกบัวแดงได้<br>ดีที่สุด คือ ดอกบัว (บัวตูม, บัวบาน) เพราะสามารถสื่อถึงความเป็นแหล่งท่องเที่ยว “ทะเลบัวแดง”<br>ได้อย่างชัดเจน ตรงไปตรงมา สามารถสร้างความจดจาแก่นักท่องเที่ยวได้ง่ายที่สุด มีความเหมาะสมที่<br>สามารถมาออกแบบเป็นลายหลัก ส่วนคุณลักษณะอื่น ได้แก่ ใบบัว เกสร และก้าน มีความเหมาะสมใน<br>การออกแบบเป็นลายประกอบ เหง้าเป็นส่วนเดียวที่ไม่เหมาะสมในการนามาถอดแบบลวดลาย เพราะ<br>เหง้ามีความพันเกี่ยวกันมาก ทาให้นามาถอดแบบลายได้ยากและไม่เหมาะสม โดยเฉพาะการจะสร้าง<br>ความจดจาแก่นักท่องเที่ยวในรูปแบบของที่ระลึกจะมีความน่าสนใจน้อยที่สุด เพราะเหง้าจะเกิดอยู่ใต้น้า<br>โดยปกตินักท่องเที่ยวจะไม่เห็นเหง้าเมื่อมาชม “ทะเลบัวแดง” การถอดลวดลายเพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์<br>ของที่ระลึกสาหรับเพศหญิง 2 กลุ่มเป้าหมาย คือ 1) วัยทางาน อายุเฉลี่ย 25-60 ปี มีกาลังในการ<br>ซื้อมาก แนวทางการออกแบบ คือ ลายแบบเสมือนจริง (Realistic) นาเสนอภาพแบบเสมือนจริง<br>คงเค้าโครงเดิมไว้อย่างชัดเจน และ 2) วัยรุ่น อายุเฉลี่ย 15-25 ปี กาลังในการซื้อน้อย แนวทาง<br>การออกแบบ คือ ลายแบบสมัยนิยม (Pop art) เหมาะสมกับสตรีวัยรุ่น ลักษณะลายประเภทนี้มีสีที่<br>ฉูดฉาด สดใส รูปแบบผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบ คือ ผลิตภัณฑ์ผ้าคลุมไหล่ แก้วน้า และสมุดโน้ต<br>ผลการประเมินการออกแบบลวดลายนามาผลิตผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกต้นแบบ 3 ชนิด สรุปได้<br>ว่าผู้บริโภคให้ความสนใจดังนี้ อันดับที่ 1 ผลิตภัณฑ์สมุดโน้ต อยู่ในเกณฑ์มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.63)<br>อันดับที่ 2 ผลิตภัณฑ์ผ้าคลุมไหล่ อยู่ในเกณฑ์มากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.57) อันดับที่ 3 ผลิตภัณฑ์แก้วกาแฟ<br>อยู่ในเกณฑ์มาก (ค่าเฉลี่ย 4.49) โดยเกณฑ์ในการจัดอันดับ ผู้บริโภคจะคานึงในเรื่องของราคาสินค้าเป็น<br>อันดับแรก ลาดับต่อมาคือพิจารณาถึงการนาไปใช้งาน และการขนส่งหรือพกพาเป็นลาดับสุดท้าย</p>}, number={2}, journal={วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา}, author={เรืองวรรณศักดิ์ กนิษฐา}, year={2019}, month={ก.ย.}, pages={34} }