@article{เทพรักษ์_2019, place={Bangkok, Thailand}, title={อำนาจนิยมจากบทบาทการแสดงของตัวละครในละครไทย}, volume={9}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214298}, DOI={10.53848/irdssru.v9i3 SUP.214298}, abstractNote={<p>งานวิจัยเรื่อง อานาจนิยมจากบทบาทการแสดงของตัวละครในละครไทย มีวัตถุประสงค์ คือ<br>1) เพื่อศึกษารูปแบบการแสดงบทบาทการใช้อานาจของตัวละครในละครไทย 2) เพื่อศึกษาลักษณะของ<br>อานาจในละครไทย งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเอกสาร ที่มีขั้นตอนการวิจัยคือ ศึกษาเอกสาร และสื่อวิดีโอ<br>จากละครโทรทัศน์ เรื่อง รักลวง ละครชุดคลับฟรายเดย์ ของช่องจีเอ็มเอ็ม 25 และวิเคราะห์เนื้อหา<br>เรียบเรียงและนาเสนอเชิงพรรณนา โดยมีผลการวิจัยดังนี้ 1) รูปแบบการแสดงบทบาทการใช้อานาจ<br>ของตัวละครในละครไทยพบได้ 2 ลักษณะ คือ 1.1) รูปแบบการใช้อานาจผ่านวัจนภาษาที่มิใช่อานาจ<br>โดยตรงที่นักแสดงใช้ในการสื่อสาร แต่เป็นอานาจของผู้เขียนบทละคร และ 1.2) รูปแบบการใช้อานาจ<br>ผ่านอวัจนภาษาประกอบด้วย 7 ลักษณะ คือ 1.2.1) สีหน้า 1.2.2) สายตา 1.2.3) ท่าทาง ร่างกาย<br>1.2.4) พื้นที่ ทั้ง ตาแหน่ง และ ระดับ1.2.5) ระยะ 1.2.6) เสียง และ 1.2.7) สิ่งของ และ 2) ลักษณะ<br>ของอานาจในละครไทย พบ2 ลักษณะ คือ 2.1) ชนิดของอานาจที่แสดงผ่านความสัมพันธ์ของตัวละคร<br>ประกอบด้วย 2.1.1) อานาจแนวดิ่ง ที่นักแสดง 1) แสดงผ่านความสัมพันธ์ในครอบครัว 2) แสดงผ่าน<br>ความสัมพันธ์ในที่ทางาน 3) แสดงผ่านความสัมพันธ์ในเรือนร่างและเพศ และ 2.1.2) อานาจแนวระนาบ<br>หรือแนวราบ ที่นักแสดงแสดงผ่านความสัมพันธ์ในที่ทางาน และ 2.2) วิธีการใช้อานาจมี 2 ลักษณะ คือ<br>2.2.1) การแสดงอานาจผ่านวัจนภาษาและอวัจนภาษา เพื่อให้ได้ตามความต้องการของตัวละคร และ<br>2.2.2) การขัดขืนและต่อต้านอานาจ ทั้งนี้พบสัดส่วนการแสดงอานาจมากกว่าการขัดขืนและต่อต้าน<br>อานาจ และเครื่องมือที่ใช้ในการต่อรองทางอานาจมากที่สุดของเรื่องนี้คือ เรือนร่างของมนุษย์</p>}, number={3 SUP}, journal={วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา}, author={เทพรักษ์ กุสุมา}, year={2019}, month={ก.ย.}, pages={93} }