@article{ศุภนคร_ทิมวัฒนบรรเทิง_ตั้งเจริญ_2019, place={Bangkok, Thailand}, title={หอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร: การจัดการและการดำรงอยู่ ในบริบทของศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัย}, volume={9}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214300}, DOI={10.53848/irdssru.v9i3 SUP.214300}, abstractNote={<p>การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและการดารงอยู่ของหอศิลป์เอกชนใน<br>กรุงเทพมหานคร และเพื่อศึกษารูปแบบ ลักษณะ ระบบ กลไก การจัดการ ปัญหาและอุปสรรค ของ<br>หอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร ในบริบทของศิลปวัฒนธรรมไทยร่วมสมัย ดาเนินงานวิจัยด้วยวิธีวิจัย<br>เชิงคุณภาพ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดาเนิน<br>กิจการหอศิลป์เอกชนที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้ใช้เกณฑ์ในการคัดเลือกโดยเลือกจากอายุ<br>ของการดาเนินกิจการ ขนาดพื้นที่ของกิจการ การจัดแสดงและลักษณะสไตล์ของผลงาน รวมทั้งราคา<br>และผู้เข้าชม ตลอดจน การสนับสนุนศิลปินในกลุ่มต่างๆ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎีการจัดการองค์กรเป็น<br>หลักในการตั้งเกณฑ์ และนาเสนอผลการวิจัยโดยการพรรณนาวิเคราะห์<br>ผลการวิจัยพบว่าเรื่องพัฒนาการหอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการแบ่งออกได้<br>เป็น 6 ทศวรรษดังนี้ ทศวรรษที่ 1 ตั้งแต่ พ.ศ. 2500 – 2510 ทศวรรษที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ. 2511 – 2520<br>ทศวรรษที่ 3 ตั้งแต่ พ.ศ. 2521 – 2530 ทศวรรษที่ 4 ตั้งแต่ พ.ศ. 2531 – 2540 ทศวรรษที่ 5 ตั้งแต่<br>พ.ศ. 2541 – 2550 ทศวรรษที่ 6 ตั้งแต่ พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน ส่วนในเรื่อง รูปแบบ ลักษณะ ระบบกลไก<br>การจัดการ ปัญหาและอุปสรรค ของหอศิลป์เอกชนในกรุงเทพมหานคร ในบริบทของศิลปวัฒนธรรม<br>ไทยร่วมสมัยนั้น มีรูปแบบการจัดการอยู่สองลักษณะคือ การจัดการองค์กรศิลปะสมัยใหม่ และ<br>การจัดการองค์กรแบบผสมผสานแบบหลังสมัยใหม่ที่มีการควบรวมกับธุรกิจและศิลปะแขนงอื่น<br>เข้าด้วยกัน</p>}, number={3 SUP}, journal={วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา}, author={ศุภนคร วิภูษณะ and ทิมวัฒนบรรเทิง สาธิต and ตั้งเจริญ วิรุณ}, year={2019}, month={ก.ย.}, pages={105} }