@article{พิชัยณรงค์_2019, place={Bangkok, Thailand}, title={ภาวะผู้นากับคุณภาพในการให้บริการอย่างมีคุณภาพของมหาวิทยาลัย ในประเทศไทย(กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)}, volume={5}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214324}, DOI={10.53848/irdssru.v5i1.214324}, abstractNote={<p>ปี พ.ศ.2507 ได้เริ่มมีแนวคิดในการนามหาวิทยาลัยออกนอกระบบหรือสถาบันอุดมศึกษาในกากับของรัฐบาล ซึ่งหมายถึงสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (Autonomous University) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (Block Grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปี เพื่อใช้จ่ายตามความจาเป็นในการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยและเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา การเพิ่มประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายด้าน มหาวิทยาลัยเป็นองค์กรที่สามารถพัฒนาได้ มีวัฒนธรรม มีเป้าหมายและมีลักษณะเฉพาะของตนเอง มีการเติบโตและเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม ตามเทคโนโลยี ตามพฤติกรรมของคนในองค์กร ดังจะเห็นจากทฤษฎีองค์กรส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่เป้าหมายขององค์กร โครงสร้าง กลยุทธ์ และการขยายขนาดขององค์กร สภาพแวดล้อม (Gladys L. Symons, 2001, หน้า 85-96) โดยเฉพาะเรื่องของภาวะผู้นาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยมีวัตถุประสงค์คือต้องการศึกษาปัจจัยด้านภาวะผู้นามีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์กรในมหาวิทยาลัยตามการรับรู้ของอาจารย์ เจ้าหน้าที่หรือพนักงานและนักศึกษา และปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์กรมีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านคุณภาพบริการของมหาวิทยาลัย ตามการรับรู้ของอาจารย์ เจ้าหน้าที่หรือพนักงานและนักศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทาการเก็บข้อมูลจาก ผู้บริหารอาจารย์ เจ้าหน้าที่หรือพนักงานและนักศึกษา ทั้ง 4 วิทยาเขตในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การศึกษาในครั้งนี้ได้ทาการศึกษาและเลือกตัวอย่างเพียงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เพียงแห่งเดียวพบว่าปัจจัยด้านภาวะผู้นาส่งผลต่อปัจจัยด้านความผูกพันต่อองค์กร และปัจจัยด้านความผูกพันยังส่งผลต่อคุณภาพบริการของมหาวิทยาลัย</p>}, number={1}, journal={วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา}, author={พิชัยณรงค์ สิริลักษณ์}, year={2019}, month={ก.ย.}, pages={134} }