TY - JOUR AU - Siriwongsuwan, Rungkiat PY - 2018/12/28 Y2 - 2024/03/29 TI - เทคนิคการถ่ายทอดกลองชุดแจ๊สเพื่อสร้างชุดการสอน ในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย JF - วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา JA - irdssru VL - 10 IS - 2 SE - บทความวิจัย DO - 10.53848/irdssru.v10i2.163776 UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/163776 SP - 47-58 AB - <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเทคนิคการถ่ายทอดการสอนกลองชุดแจ๊สของอาจารย์ประจำในด้านสาขาดนตรีแจ๊สหรือแขนงสาขาดนตรีแจ๊สในระดับอุดมศึกษา</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เทคนิคการถ่ายทอด สามารถกล่าวโดยสรุป 1. อาจารย์ทุกท่านส่วนใหญ่จะสอนแบบตัวต่อตัวและแบบกลุ่มในวิชารวมวงจะเป็นช่วงเปิดโอกาสให้อาจารย์ทุกท่านได้ใช้เทคนิคการถ่ายทอดวิธีสอนด้านปฏิบัติการบรรเลงกลองชุดแจ๊สในรูปแบบของตนเอง&nbsp; 2. การสอนคล้ายกันบางอย่าง ในเรื่องเนื้อหาสอนเป็นทิศทางคล้ายกันบางเรื่องต่างกันที่เวลาที่ใช้สอนแต่ละเรื่องใช้เวลาต่างกันเช่นการตีSnareและการCom ping,Snare Pattern Swing, Com ping เทคนิคเหยียบ Bass Drum , อ่านโน้ตเพลง Jazz และบรรเลงบทเพลง Jazzรูปแบบการสอนนี้อาจารย์ส่วนใหญ่อาจจะปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับความสามารถความต้องการของนักเรียนและสภาพปัญหาของนักเรียนแต่ละคน รวมทั้งอาจมีการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนตามสภาพสถานที่เรียน 3. สื่อ อุปกรณ์ หนังสือเรียนยังไม่มีเล่มไหนที่เอาไว้ใช้เรียนเป็นเล่มหลัก มีการใช้หนังสือหลายเล่มมาร่วมกันใช้ในการเรียนการสอน มีความเหมาะสมกับนักศึกษาแตกต่างกัน และมีการเขียนแบบฝึกหัดการฝึกซ้อมขึ้นมาเอง จากประสบการณ์ของอาจารย์โดยตรง4.การวัดผลและประเมินผลมีการสอบเก็บคะแนนตลอด เรื่องการสอบบทเพลง การสอบเก็บคะแนนตามแบบฝึกหัดต่างๆและการแสดงดนตรีตามสถานที่ต่างๆ</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้านการดำเนินการสร้างชุดการสอนได้ผ่านการตรวจสอบประเมินชุดการสอนจากผู้เชี่ยวชาญเป็นไปอย่างเหมาะสม เรียบร้อยเป็นไปตามขั้นตอนก่อนทำการทดลองใช้ชุดการสอนกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงในการวิจัยนี้คือนักศึกษาสาขาดนตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จำนวน 10 คน</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;ผลการวิจัยหาประสิทธิภาพของการใช้ชุดการสอนผลคือมีค่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/ 80 ที่กำหนดไว้และ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของรูปแบบการก่อนการฝึกและหลังการฝึกปฏิบัติพบว่าผลสัมฤทธิ์หลังการฝึกปฏิบัติสูงกว่าก่อนฝึกปฏิบัติมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05</p> ER -