TY - JOUR AU - ต่อศรี, ธนเดช AU - เย็นสบาย, อานาจ AU - ตั้งเจริญ, วิรุณ AU - สุรสนธิ, กิติมา PY - 2019/09/03 Y2 - 2024/03/29 TI - ความหมายและการดารงอยู่ของความเชื่อเรื่อง “ผีปอบ” ในบริบทสังคมไทย JF - วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา JA - irdssru VL - 9 IS - 2 SE - บทความวิจัย DO - 10.53848/irdssru.v9i2.214235 UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214235 SP - 152 AB - <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา “ความหมาย” และ “การดารงอยู่” ของความเชื่อเรื่องผีปอบ<br>ในบริบทสังคมไทย<br>วิธีดาเนินการวิจัยผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ทาการศึกษา “ความหมาย” และ<br>“การดารงอยู่” ของความเชื่อเรื่องผีปอบในบริบทสังคมไทย ผู้วิจัยทาการเก็บข้อมูลภาคเอกสารและ<br>ภาคสนาม เพื่อรวบรวมองค์ความรู้จากพื้นที่ศึกษา จังหวัด คือ กาฬสินธุ์ สกลนคร มหาสารคาม และ<br>กรุงเทพมหานคร เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ด้วยวิธีการดังนี้ 1) การใช้แบบสอบถามกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั่วไป<br>ชาวกรุงเทพมหานคร 2) การใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้เชี่ยวชาญเรื่องผีปอบ 3) การสัมภาษณ์กลุ่ม<br>กับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเชื้อสายอีสานซึ่งมีบริบททางข้อมูลและพื้นที่แตกต่างกัน<br>ผลการวิจัยพบว่า สามารถแบ่งผีปอบออกเป็น 2 ประเภท คือ ปอบมนต์ และ ปอบเชื้อ และ<br>ความเชื่อเรื่อง “ผีปอบ” ดารงอยู่ด้วยการเล่าแบบปากต่อปาก ตามแต่ประสบการณ์ของแต่ละชุมชน<br>โดยมีชุดความรู้เรื่อง “กาเนิดและอานาจของผีปอบ” และ “พิธีกรรมการไล่ผีปอบ” ซึ่งเปรียบเสมือน<br>ส่วนประกอบสาคัญ ที่เข้ามาเสริม ในการดารงอยู่ของความเชื่อเรื่อง “ผีปอบ” ในบริบทสังคมไทย<br>ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น</p> ER -