TY - JOUR AU - อมรเวช, นภดล PY - 2019/09/03 Y2 - 2024/03/29 TI - ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้านเพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา JF - วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา JA - irdssru VL - 5 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - 10.53848/irdssru.v5i1.214326 UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214326 SP - 148 AB - <p>การศึกษาวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะความเป็นผู้นาในการพัฒนาของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน 2)สร้างยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติหน้าที่ และ 3) ศึกษาผลของการใช้ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา เป็นการวิจัยและพัฒนาใช้แผนแบบการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐานแบบการทดลองกึ่งจริง(Semi-experiment: Set-Experiment + Set-Treatment +No - Control)เป็นแบบ One Group Pre-test Post-test Design เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรม แบบทดสอบความรู้ แบบวัดสมรรถนะ แบบวัดเจตคติ และหลักสูตรการฝึกอบรม โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นกานัน ผู้ใหญ่บ้าน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ให้ความคิดเห็นต่อสมรรถนะการใช้ภาวะผู้นาในการพัฒนา รวมทั้งสิ้น 308 คนและกานัน ผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มทดลอง จานวน 40 คน รวมทั้งสิ้น จานวน 348 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติพื้นฐาน คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าเฉลี่ย (X) และ ค่า T-test (Dependent) เพื่อวิเคราะห์ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการบรรยายเชิงพรรณนาจากสภาพจริง</p><p>ผลการวิจัย พบว่า</p><p>1. ผลการศึกษาสมรรถนะความเป็นผู้นาในการพัฒนาของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน พบว่า มีสมรรถนะความเป็นผู้นาในการพัฒนาต่า ซึ่งมีสาเหตุ 4 ประการโดยเรียงลาดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ 1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ (ร้อยละ 57.9) 2) สถานภาพของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน (ร้อยละ 20.1)3) ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน (ร้อยละ 18.8) และ 4) อื่น ๆ (ร้อยละ 3.2)</p><p>2. ผลการสร้างยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา พบว่ายุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะเพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนา ประกอบด้วย 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) การพัฒนาความรู้ ความ เข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ (2) การสร้างการเป็นผู้นาในการพัฒนา และ (3) การสร้างการรับรู้ด้านการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ ทั้งนี้โดยมีองค์ประกอบของสมรรถนะหลักของความเป็นผู้นาเพื่อการพัฒนา 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการรับรู้ ด้านคุณลักษณะและพฤติกรรม ด้านทักษะ ด้านความคิดรวบยอด และด้านจิตวิญญาณ จากนั้นได้มีการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญแล้วนาไปพัฒนาคู่มือและทดลองใช้โดยการฝึกอบรม</p><p>3. ผลของการใช้ยุทธศาสตร์การเพิ่มสมรรถนะของกานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อเป็นผู้นาในการพัฒนาพบว่า กลุ่มทดลอง จานวน 40 คน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และความเป็นผู้นาในการพัฒนา (X+S.D.) มีพฤติกรรมการใช้สมรรถนะความเป็นผู้นาในการพัฒนา (X+S.D.) และ มีเจตคติต่อพฤติกรรมความเป็นผู้นาเพื่อการพัฒนา (X+S.D.) หลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม (48.65 + 4.40) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ P &lt;0.001โดยมีสมรรถนะการใช้ภาวะผู้นา ดังนี้ 1) ด้านการรับรู้ (19.15 + 1.49) 2) ด้านการคุณลักษณะและพฤติกรรม (59.15 + 2.74) 3) ด้านทักษะ (48.15 + 3.54) 4) ด้านความคิดรวบยอด (35.90 + 3.86) และ 5) ด้านจิตวิญาณ (24.30 + 1.67)</p><p>ในการเพิ่มสมรรถนะเพื่อเป็นผู้นาการพัฒนาของกานัน ผู้ใหญ่บ้านมีปัจจัยแห่งความสาเร็จในครั้งนี้คือ เพิ่มสมรรถนะได้มากในกลุ่มที่มีความเป็นผู้นาโดยธรรมชาติ ส่วนกลุ่มจัดตั้งซึ่งจะมีความรู้สูงและมีทุนสูงจะเพิ่มสมรรถนะได้ในประเด็นที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่ยังไม่เคยทราบมาก่อน และจะขาดความเป็นผู้นาทางธรรมชาติแต่ผลการวิจัยนี้ได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันจึงเกิดการพัฒนา ทาให้กลุ่มผู้นาธรรมชาติเกิดความภาคภูมิใจและรักในหน้าที่มากขึ้นส่วนกลุ่มจัดตั้งมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนไปเป็นผู้นาท้องถิ่นระดับสูงต่อไป</p> ER -