TY - JOUR AU - คำบุรี, วสันติ์ PY - 2019/09/03 Y2 - 2024/03/29 TI - สวัสดิการของแรงงานระดับหน่วยผลิตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ จังหวัดลาพูน JF - วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา JA - irdssru VL - 7 IS - 2 SE - บทความวิจัย DO - 10.53848/irdssru.v7i2.214365 UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214365 SP - 23 AB - <p>การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา<br>สวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกาหนด<br>ตลอดจนความพึงพอใจในสวัสดิการของแรงงานระดับ<br>หน่วยผลิตในภาคอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรม<br>ภาคเหนือ จังหวัดลาพูน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา<br>คือ แรงงานระดับหน่วยผลิต จานวน 400 ราย โดยใช้<br>แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา การวิเคราะห์<br>ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การให้น้าหนักความพอใจ<br>แบบลิเคิท<br>ผลการศึกษาพบว่าแรงงาน เป็นเพศหญิง อายุ<br>เฉลี่ย 38ปี มีภูมิลาเนาอยู่ในภาคเหนือ สถานภาพโสด<br>ไม่มีบุตร จบ กา รศึก ษาใ นระ ดับ ปริญ ญาต รี มี<br>ประสบการณ์ในการทางานเฉลี่ย 5 ปี ลักษณะงานที่ทา<br>อยู่ในปัจจุบันคือ ประกอบและตรวจสอบชิ้นส่วนงาน<br>ให้ได้มาตรฐาน ได้รับรายได้เฉลี่ยเดือนละ 10,087<br>บาท นอกจากนี้แรงงานยังได้รับสวัสดิการในด้านต่างๆ<br>6 ด้าน ได้แก่ สวัสดิการด้านการมุ่งพัฒนาลูกจ้าง<br>สวัสดิการที่ช่วยเหลือในเรื่องค่าครองชีพ สวัสดิการที่<br>ช่วยเหลือดารออมขอลูกจ้าง สวัสดิการที่พัฒนาสถาบัน<br>ครอบครัวของลูกจ้าง สวัสดิการที่ส่งเสริมความมั่นคง<br>ในอนาคต และสวัสดิการนันทนาการและสุขภาพ<br>อนามัย โดยแรงงานมีความพอใจในสวัสดิการแรงงาน<br>3 อันดับแรก คือสวัสดิการที่ช่วยเหลือการออมของ<br>ลูกจ้าง ในรูปของกองทุนสารองเลี้ยงชีพ รองลงมาคือ<br>สวัสดิการนันทนาการและสุขภาพอนามัยในรูปของการ<br>จัดงานเลี้ยงสังสรร ค์พนักงาน และสวัสดิการที่<br>ช่วยเหลือในเรื่องค่าครองชีพ ในรูปของการจัดชุด<br>ทางาน<br>เมื่อพิจารณาแรงงานกลุ่มตัวอย่างจาแนกตาม<br>การลงทุน พบว่าแรงงานในนิคมอุตสาหกรรม<br>ภาคเหนือจังหวัดลาพูนทั้ง 2 กลุ่ม แรงงานระดับหน่วย<br>ผลิตที่ทางานอยู่ในบริษัทที่ได้รับการลงทุนภายโดยตรง<br>จากต่างประเทศและแรงงานที่ทางานอยู่ในบริษัทที่<br>ได้รับการลงทุนภายในประเทศ ส่วนใหญ่ได้รับ<br>สวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากที่กฎหมายกาหนด ทั้ง<br>6 ด้านใกล้เคียงกัน และสวัสดิการที่แรงงาน 2กลุ่ม<br>ได้รับแตกต่างกัน คือ สวัสดิการด้านการออมของ<br>ลูกจ้าง ในรูปของกองทุนสารองเลี้ยงชีพ โดยแรงงานที่<br>ทางานในบริษัทที่ได้รับการลงทุนภายโดยตรงจาก<br>ต่างประเทศนั้นได้รับสวัสดิการนี้จานวน 198 ราย และ<br>แ ร ง ง า น ที่ทา ง า น ใ น บ ริษัท ที่ไ ด้รับ ก า ร ล ง ทุน<br>ภายในประเทศได้รับสวัสดิการนี้เพียง 112 ราย ใน<br>ส่วนของความพึงพอใจ แรงงานที่ทางานอยู่ในบริษัทที่<br>ได้รับการลงลงทุนภายโดยตรงจากต่างประเทศ มีความ<br>พึงพอใจมากที่สุด 3อันดับแรก คือ สวัสดิการที่<br>ช่วยเหลือในเรื่องค่าครองชีพ รองลงมาคือ สวัสดิการที่<br>ช่วย เหลือกา รออ มขอ งลูกจ้า ง แ ละส วัสดิกา ร<br>นันทนาการและสุขภาพอนามัย ส่วนแรงงานที่ทางาน<br>อยู่ในบริษัทที่ได้รับการลงทุนภายในประเทศ มีความ<br>พอใจมากที่สุด 3อันดับแรก คือ สวัสดิการนันทนาการ<br>และสุขภาพอนามัย รองลงมาคือ สวัสดิการที่พัฒนา<br>สถานบันครอบครัวของลูกจ้าง และสวัสดิการที่<br>ช่วยเหลือการออมของลูกจ้าง</p> ER -