TY - JOUR AU - สุขประภาภรณ์, ธิดารัตน์ PY - 2019/09/04 Y2 - 2024/03/29 TI - รูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัย เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ JF - วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา JA - irdssru VL - 8 IS - 3 SE - บทความวิจัย DO - 10.53848/irdssru.v8i3.214605 UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214605 SP - 225 AB - <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ พร้อมกับสร้างรูปแบบการประเมินและวัดประสิทธิภาพของรูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏมีวิธีดาเนินการวิจัย 3 ขั้นคือ ขั้นที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบ ประชากร คือ คณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ 40 แห่ง ขั้นที่ 2 การสร้างรูปแบบการประเมินใช้แนวคิดการประเมินของนีโว (Nevo, 1983), วิลเลียม (William R. Tash, 2006) และ ศิริชัย กาญจนวาสี (2552) ประเมินประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ ขั้นที่ 3 ทดลองใช้รูปแบบประเมินในมหาวิทยาลัยราชภัฏ 1 แห่ง สรุป<br>ผลการวิจัยคือองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 50 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ กระบวนการส่งเสริมเพื่อการพัฒนาโจทย์การวิจัย 8 ตัวบ่งชี้กระบวนการส่งเสริมเพื่อการเรียนรู้กระบวนการออกแบบการวิจัย 5 ตัวบ่งชี้ กระบวนการส่งเสริมเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานวิจัย 27 ตัวบ่งชี้ กระบวนการส่งเสริมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพการเผยแพร่ผลงานวิจัย 6 ตัวบ่งชี้ กระบวนการส่งเสริมเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น 4 ตัวบ่งชี้<br>องค์ประกอบทั้งหมดสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นได้ร้อยละ 69.66 ของทั้ง รูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก คือ 1) เป้าหมายของการประเมิน 2) ขอบเขตการประเมิน 3) การดาเนินการประเมิน 4) การตัดสินผลการประเมิน และ 5) การรายงานผล โดยประสิทธิภาพของรูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 4 ประเด็นหลัก พบว่า รูปแบบมีความถูกต้องแม่นยา อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนการใช้ประโยชน์ ความเป็นไปได้ในการนาไปใช้ และความเหมาะสม พบว่า อยู่ในระดับมาก</p> ER -