TY - JOUR AU - ธรรมศักดิ์ชัย, กิตติศักดิ์ PY - 2021/06/21 Y2 - 2024/03/28 TI - การออกแบบผลิตภัณฑ์ชุดมีดประดับ ด้วยอัตลักษณ์ปราสาทหินพนมวัน สำหรับกลุ่มตีมีดบ้านโพธิ์ อ.เมือง จ.นครราชสีมา JF - วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา JA - irdssru VL - 13 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - 10.53848/irdssru.v13i1.250538 UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/250538 SP - 199-213 AB - <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุดมีดประดับ ด้วยอัตลักษณ์ปราสาทหินพนมวัน สำหรับกลุ่มตีมีดบ้านโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ผลการประเมินความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ชุดมีดประดับที่ใช้อัตลักษณ์ปราสาทหินพนมวันมาออกแบบ สำหรับกลุ่มตีมีดบ้านโพธิ์ อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.06 และมีความพึงพอใจบรรจุภัณฑ์ชุดมีดประดับที่ใช้อัตลักษณ์ปราสาทหินพนมวันมาออกแบบ อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.52 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.04 และผลจากการเปรียบเทียบความต้องการผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ชุดมีดประดับแบบเดิม และ ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ชุดมีดประดับที่ใช้อัตลักษณ์ปราสาทหินพนมวันมากออกแบบ สำหรับกลุ่มตีมีดบ้านโพธิ์ พบว่ามีผู้ที่สนใจและมีความต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ชุดมีดประดับด้วยอัตลักษณ์ปราสาทหินพนมวัน ที่ได้รับการออกแบบขึ้นมาใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 65 คน โดยคิดเป็นร้อยละ 98.5 ซึ่งเหตุผลในการเลือกซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ชุดมีดประดับ จากผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุดคือ ผลิตภัณฑ์มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 42.4 รองลงมาคือด้านประโยชน์การใช้สอยของผลิตภัณฑ์ จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 31.8 รองลงมา คือด้านความสวยงาม จำนวน12 คน คิดเป็นร้อยละ 18.2 และด้านต้นทุนต่ำแต่มีคุณภาพสูง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 7.6 ตามลำดับ จากผลการประเมินความพึงใจจากกลุ่มผู้ที่สนใจผลิตภัณฑ์จำนวน 66 คน &nbsp;</p><p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลที่เกิดจากการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้ ทางสมาชิกกลุ่มตีมีดบ้านโพธิ์ มีความพึงพอใจเป็นอย่างมากซึ่งผลที่เกิดกับชุมชนนั้นก็คือ ชุมชนสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดเพื่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนได้มากยิ่งขึ้นและเพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้คงอยู่คู่กับชุมชนและสังคมได้ต่อไป</p> ER -