@article{แผ่อารยะ_2014, title={ความคิดเห็นและความคาดหวังต่อรายการสุขภาพ ทางโทรทัศน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย ในเขตกรุงเทพมหานคร}, volume={6}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/24582}, abstractNote={<p><strong>บทคัดย่อ</strong><br />          การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นและความคาดหวังต่อการชมรายการสุขภาพทางโทรทัศน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย และวิเคราะห์กลยุทธ์ทางการสื่อสารของรายการสุขภาพทางโทรทัศน์โดยการวิเคราะห์เนื้อหารายการจำนวน 6 รายการจากทั้งหมด 14 รายการ จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และแบบเจาะจง<br />รายการสุขภาพทางโทรทัศน์ และสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาจำนวน 400 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน และแบบเจาะจงนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพมหาวิทยาลัยของรัฐบาลและเอกชนในกรุงเทพมหานคร ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเชิงอนุมาน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามีความคิดเห็นตรงกันว่ารายการสุขภาพทางโทรทัศน์นำเสนอความก้าวหน้าทางการแพทย์โดยการสัมภาษณ์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญมากที่สุด ความคาดหวังของนักศึกษาในอนาคต ยังคงต้องการให้มีการนำเสนอความก้าวหน้าทางการแพทย์ในรูปแบบการสัมภาษณ์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเช่นเดียวกัน นักศึกษาต่างเพศและต่างมหาวิทยาลัยมีความคิดเห็นและความคาดหวังตอ่ รายการสขุ ภาพทางโทรทัศน์แตกต่างกนั อย่างมีนียสำคััญทางสถิติที่ 0.05 การวเิ คราะหเ์ นือ้ หาพบวา่รายการสุขภาพทางโทรทัศน์ใช้กลยุทธ์การนำเสนอสารเชิงบวกมากกว่าเชิงลบ</p><p><strong>Abstract</strong><br />          This study is survey research with the following bjectives : to study the opinion and expectation of university students on TV health programmes and to explore the message strategies used in the TV health programmes by conducting content analysis from 6 of 14. From selected by multi-stage sampling techniquesin including purposive sampling selection. A set of questionnaire was used to collect the data from 400 students in health science major selected by multi-stage<br />sampling techniques in including purposive sampling selection. Descriptive statistics such as frequencies, percentage, mean and standard deviation were used to describe the demographic</p><p>characteristics, opinion and expectation of TV health programmes. Inferential statistics such as t-test and F-test were used for hypothesis testing. Findings : The content of TV health programmes presented the medical advancement by interviewing the medical experts the most. Most Students<br />also expected the future programmes to have more medical advancement by interviewing medical experts. Students with different gender and at a different university had different opinions on viewing and on TV health programmes at a expectation significant level of 0.05. In presenting the content. The content analysis revealed that the TV health programmes utilized more positive than negative approach.</p>}, number={1}, journal={วารสารปัญญาภิวัฒน์}, author={แผ่อารยะ วรัญญา}, year={2014}, month={พ.ย.}, pages={133–146} }