@article{ดำารงวัฒนกูล_ทองลาด_จนาศักดิ์_มีสำลี_ทองธานี_กาวีวงศ์_สายเทพ_รัตนธีรวิเชียร_2021, title={กระบวนการพัฒนาข้าวอัตลักษณ์ลำาปางโดยการสร้างเสริมพลังการเรียนรู้เกษตรกร (ชาวนาอัจฉริยะ) ผ่านการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม}, volume={13}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/247386}, abstractNote={<p><span class="fontstyle0">การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการสร้างเสริมพลังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และความเชื่อมโยงตลอดโซ่อุปทานในการพัฒนาข้าวสายน้ำแร่แจ้ซ้อนสู่ข้าวอัตลักษณ์ลำปาง ประชากร คือ สมาชิกของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรปลอดภัยไร้สารเคมีตำบลแจ้ซ้อน จำานวน 30 ราย ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการพัฒนา “ชาวนาอัจฉริยะ” ผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันแบบบูรณาการระหว่างภาครัฐ เอกชน เกษตรกร และผู้ประกอบการ เพื่อเชื่อมโยงโซ่อุปทานตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ  และปลายน้ำ ผลการวิจัยคือ 1) เกิดแนวทางการพัฒนาสินค้าข้าวของกลุ่มชาวนาอัจฉริยะให้มีอัตลักษณ์เฉพาะ มีมาตรฐานการปลูกและแปรรูปที่ตามระบบการรับรองที่ปลอดภัย และมีข้อมูลสนับสนุนข้าวสายน้ำแร่แจ้ซ้อนให้เป็นสินค้า GI<br>ของจังหวัดลำปางหรือสินค้าในตลาด Niche Market 2) เกิดรูปแบบความร่วมมือระดับชุมชน ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชุมชนด้านการปลูกข้าว กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มผู้ประกอบการเพื่อแสวงหากลไกการขับเคลื่อนร่วมกันคือ การนำจุดแข็งมาพัฒนาเป็นจุดเด่นและเป็นหลักสำคัญในการดำเนินงาน3) การปฏิบัติการประยุกต์ใช้องค์ความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการปลูกข้าวของชุมชนสู่ขั้นตอนการพัฒนาการปลูกข้าวด้วยมาตรฐานกลุ่มภายใต้การรับรองเครื่องหมายมาตรฐานการผลิตที่ปลอดภัย 4) กระบวนการพัฒนาแบรนด์สินค้าข้าวของกลุ่มเกษตรกรให้มีอัตลักษณ์และเรื่องราวที่สะท้อนถึงภูมิปัญญาและจุดขายที่ชัดเจนสนองตอบต่อตลาดยุคดิจิทัล เพื่อสื่อสารเรื่องราวข้าวสายน้ำแร่แจ้ซ้อน โดยกระบวนการกลุ่มของเกษตรกรเป้าหมาย</span></p>}, number={3}, journal={วารสารปัญญาภิวัฒน์}, author={ดำารงวัฒนกูล นันทินา and ทองลาด พรชนก and จนาศักดิ์ ศิรญา and มีสำลี จำเนียร and ทองธานี ปิยะรัตน์ and กาวีวงศ์ จักรชัยวัฒน์ and สายเทพ กรรณิการ์ and รัตนธีรวิเชียร กาญจนา}, year={2021}, month={ธ.ค.}, pages={255–269} }