@article{พงศ์วิริทธิ์ธร_ภัควิภาส_ทรงศิริโรจน์_กันทะวงศ์วาร_2017, title={ส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซื้อหัตถกรรมสิ่งทอ จากภูมิปัญญาชนเผ่าชาติพันธุ์ล้านนา: ชนเผ่าปกาเกอะญอ}, volume={9}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/85018}, abstractNote={<p>          การวิจัยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อหัตถกรรมสิ่งทอจากภูมิปัญญาชนเผ่าปกาเกอะญอ โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างได้แก่ บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ที่เคยมีประสบการณ์ในการซื้อสินค้าหัตถกรรมสิ่งทอชนเผ่าปกาเกอะญอในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบกำหนดจำนวนตัวอย่าง จำนวน 250 ราย พบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าหัตถกรรมสิ่งทอจากภูมิปัญญาชนเผ่าปกาเกอะญอ พบว่า ส่วนประสมทางการตลาดในภาพรวมให้ความสำคัญอยู่ในระดับความสำคัญมาก (X = 6.08, S.D. = 0.68) ซึ่งด้านผลิตภัณฑ์ให้ความสำคัญระดับมากที่สุด (X = 6.55, S.D. = 0.51) ด้านราคาให้ความสำคัญระดับค่อนข้างมาก (X = 5.22, S.D. = 0.68)<strong> </strong>ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายให้ความสำคัญระดับมาก (X = 6.15, S.D. = 0.66)<strong> </strong>และด้านการส่งเสริมทางการตลาดให้ความสำคัญระดับมากที่สุด (X = 6.38, S.D. = 0.62) การทดสอบสมมติฐานของผู้บริโภคที่มีลักษณะข้อมูลส่วนบุคคลแตกต่างกันในด้านอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีค่าเฉลี่ยความสำคัญต่อส่วนประสมทางการตลาดแตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 แนวทางการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการตัดสินใจซื้อหัตถกรรมสิ่งทอจากภูมิปัญญาชนเผ่าชาติพันธุ์ล้านนา: ชนเผ่าปกาเกอะญอ ควรมุ่งเน้นดังนี้ 1) การมุ่งผลิตโดยเน้นคุณภาพ ผลิตภัณฑ์หลากหลาย 2) ควรเน้นและคงอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์สิ่งทอแบบดั้งเดิม ลวดลาย สีสันที่สามารถแสดงถึงศิลปะท้องถิ่นของชนเผ่าปกาเกอะญอ 3) บรรจุภัณฑ์สวยงาม 4) การมีจำหน่ายในระบบ E-Commerce และผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 5) ส่งเสริมทางการตลาดร่วมกับหน่วยงานภาครัฐบาล เอกชน</p><p> </p><p>          This research aims to study the marketing mix factors that affect buying decision of textile handicraft from Lanna’s ethnic wisdom of Pgazkoenyau. Questionnaires were used to collect data. The sample total 250 samples were individual person age more than 20 years old that have experience in purchasing textile handicraft of Pgazkoenyau in Muang district, Chiang Mai province. The marketing mix factors that affect buying decision of textile handicraft from Lanna’s ethnic wisdom of Pgazhoenyau showed the result that the overall importance is in the very important level (X = 6.08, S.D. = 0.68), which product factor is at the highest level (X = 6.55, S.D. = 0.51), price factor is at quite high level (X = 5.22, S.D. = 0.68), place and channel of distribution factor is at high level (X = 6.15, S.D. = 0.66), and marketing promotion is at the highest level (X = 6.38, S.D. = 0.62). The hypothesis examination of the consumer with the different general information in terms of age, education level, occupation, and average monthly income, showed the important average towards the different marketing mix at the level of significant of 0.05. In order to develop the marketing mix factors that affect buying decision of textile handicraft from Lanna’s ethnic wisdom of Pgazkoenyau, it is necessary to focus on: 1) The quality of variety range of products. 2) Maintain the identity and uniqueness of the traditional textile, pattern, color that show the local art of Pgazkoenyau’s tribe. 3) Nice and beautiful packaging. 4) Available to purchase online via E-Commerce and social media. And 5) promote about the marking in cooperating with both public and private sectors.     </p>}, number={1}, journal={วารสารปัญญาภิวัฒน์}, author={พงศ์วิริทธิ์ธร รัฐนันท์ and ภัควิภาส ภาคภูมิ and ทรงศิริโรจน์ สุธีมนต์ and กันทะวงศ์วาร เบญญาภา}, year={2017}, month={เม.ย.}, pages={25–37} }