@article{โชคธนานุกูล_สัจจรักษ์ ธีระฐิติ_2017, title={ปัจจัยความสุขในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรที่มีผลต่อความพึงพอใจในการให้บริการของบุคลากรมหาวิทยาลัยต่างรุ่นอายุ}, volume={9}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/85024}, abstractNote={<p>          งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยความสุขในการทำงานและปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการให้บริการของบุคลากรมหาวิทยาลัยต่างรุ่นอายุ และ 2) เพื่อนำเสนอแนวทางการบริหารงานทางด้านทรัพยากรมนุษย์ที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาที่เหมาะสมกับบุคลากรมหาวิทยาลัยในแต่ละรุ่นอายุ โดยเป็นการวิจัยแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ในเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามทำการสำรวจแบบสำมะโนในบุคลากรของหน่วยงานแห่งหนึ่งในสังกัดมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐที่มีบทบาทและหน้าที่สำคัญในการให้บริการสื่อสารสนเทศและเอกสารทางวิชาการทั้งภายในระดับภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และในเชิงคุณภาพใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรในสามรุ่นอายุ ได้แก่ Baby Boomer, Generation X และ Generation Y จากนั้นนำผลการวิจัยทั้งสองส่วนมาวิเคราะห์ร่วมกัน ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรรุ่น Baby Boomer ปัจจัยความสุขในการทำงานสามารถใช้พยากรณ์ปัจจัยความพึงพอใจในการให้บริการ คือ หากบุคลากรรุ่น Baby Boomer มีความสุขเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะมีความพึงพอใจในการให้บริการเพิ่มขึ้น 0.620 หน่วย และบุคลากรรุ่น Generation Y พบว่า ปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรสามารถใช้พยากรณ์ปัจจัยความพึงพอใจในการให้บริการ คือ หากบุคลากรรุ่น Generation Y มีความผูกพันต่อองค์กรเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะมีความพึงพอใจในการให้บริการเพิ่มขึ้น 1.128 หน่วย ในขณะที่รุ่น Generation X ไม่ปรากฎผลของปัจจัยทั้งสองที่สามารถใช้พยากรณ์ปัจจัยความพึงพอใจในการให้บริการ ดังสอดคล้องกับการศึกษาเชิงคุณภาพที่พบว่า รุ่น Generation X มุ่งเน้นความสำเร็จที่ผลงานเป็นสำคัญ โดยไม่ได้ตระหนักถึงปัจจัยความสุขในการทำงานและปัจจัยความผูกพันต่อองค์กร</p><p><strong> </strong></p><p><strong>          </strong>The objectives of this research to 1) study the happiness in workplace and organization engagement factors affecting to satisfaction of services of difference generation of university staff, and 2) provide guidelines for the Human Resources Management to development of appropriate university staff in each generation. The research employed both quantitative and qualitative methodology. The quantitative used questionnaires to collect data as census in the one of the department of autonomous university. Where they are important role in providing academic media information, and academic papers both inside and outside the university. The qualitative used semi-structured interview, was employed in-depth interview in three generations including the Baby Boomer, the generation X, and the generation Y. The results of both methodologies were analyzed together, the results showed that in the Baby Boomer happiness in workplace factors able to predictive satisfaction of services. That is, if the Baby Boomer staff has happiness in workplace increase one unit, satisfaction of services will increase 0.620 units. Generation Y, organization engagement able to predictive satisfaction of services. That is, if the generation Y staff has organization engagement increase one unit, satisfaction of services will increase 1.128 units. While generation X does not appear as a result both of two factors that able to predictive satisfaction in services. Consistent with the qualitative study, generation X focused on performance and success of work are important, and not recognizing the happiness in workplace and organization engagement factors.</p>}, number={1}, journal={วารสารปัญญาภิวัฒน์}, author={โชคธนานุกูล บุรเทพ and สัจจรักษ์ ธีระฐิติ นภเรณู}, year={2017}, month={เม.ย.}, pages={83–95} }