TY - JOUR AU - ปิติพัฒน์, ศุภกฤต PY - 2018/04/27 Y2 - 2024/03/29 TI - ตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความเป็นเมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน JF - วารสารปัญญาภิวัฒน์ JA - PANYAPIWAT JOURNAL VL - 10 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/120656 SP - 78-90 AB - <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุความเป็นเมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และ 2) ศึกษาอิทธิพลทางตรงของปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อความเป็นเมืองน่าอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จำนวน 380 ราย ทำการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย และเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยผ่านการหาความเที่ยงตรง มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 0.94 และผ่านการหาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.895 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์</p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลจากการวิจัยพบว่า ตัวแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ (X<sup>2</sup>) มีค่าเท่ากับ 109.63 ที่องศาอิสระ (df) 90 P-value เท่ากับ 0.078 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) เท่ากับ 0.97 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.95 ค่ารากกำลังสองของความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.024 และค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (Standardized RMR) เท่ากับ 0.035 ความเป็นเมืองน่าอยู่ได้รับอิทธิพลทางตรงจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสังคม และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมมีค่าอิทธิพลมากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ และปัจจัยด้านสังคม ตามลำดับ</p><p>&nbsp;</p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This research aims to 1) develop model of healthy city in the upper north east region &nbsp;2) study the direct effect of economic, social, and environmental factors that influence the healthy city in the upper north east region. The samples were obtained from residents of the municipalities in upper north east region 380 cases were used by means of a simple random sampling. The research instrument was a questionnaire of 5 levels, with the IOC of 0.94 and the reliability of the questionnaire was 0.895. The data was analyzed by software for social science research.&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The results of this study indicated that: Model of healthy city in the upper north east region correlates with the empirical data by having&nbsp;X<sup>2</sup> = 109.63, df = 90, P-value = 0.078, GFI = 0.97, AGFI = 0.95, RMSEA = 0.024 and Standardized RMR = 0.035. The Healthy City are directly influenced by economic factors, Social factors and environmental factors at the statistically significant level of 0.01. The most direct influential aspect is environmental factors, followed by economic factors and social factors.</p> ER -