TY - JOUR AU - แขวงเมือง, ปรมะ PY - 2018/04/27 Y2 - 2024/03/29 TI - ผลการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้และการคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา JF - วารสารปัญญาภิวัฒน์ JA - PANYAPIWAT JOURNAL VL - 10 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/120671 SP - 175-184 AB - <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสร้างความรู้ การคิดสร้างสรรค์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความคิดเห็นของผู้เรียนที่เรียนด้วยนวัตกรรมการเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ที่ส่งเสริมการสร้างความรู้และการคิดสร้างสรรค์ ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 27 คน ได้มาจากการสุ่มแบบยกกลุ่ม ในรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ภาคเรียนที่ 2/2559 ผลการศึกษามีดังนี้ 1) ผลการสร้างความรู้ของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนสร้างความรู้จากการเสียสมดุลทางปัญญา เมื่อผู้เรียนได้รับปัญหาผู้เรียนจะเกิดความสงสัยและตั้งคำถามเกี่ยวกับปัญหาที่รับ และปรับโครงสร้างทางปัญญาจากค้นหาคำตอบจากแหล่งเรียนรู้ที่จัดเตรียมไว้โดยวิธีการดูดซึม และการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา รวมทั้งการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเพื่อนๆ หรือผู้รู้ 2) ผลการคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน ประกอบด้วยการคิดคล่อง การคิดยืดหยุ่น การคิดริเริ่ม และการคิดละเอียดลออ 3) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ความคิดเห็นของผู้เรียน ประกอบด้วยด้านเนื้อหา ด้านสื่อมัลติมีเดีย และด้านการออกแบบ</p><p>&nbsp;</p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; This study aimed to study the knowledge construction, creative thinking, learning achievement and students’ opinions of the learner learning with constructivist learning environment to enhance knowledge construction and creative thinking in 21st century for the graduate students. This research design is an experimental research. The sample group was the 27 junior students collected by cluster random sampling registered in Educational Innovation and Information Technology subject in the second semester of 2016. The results of using the innovation were found as the following: 1) the students’ knowledge construction was found that the students constructed their knowledge from disequilibrium. When the learner receives a problem, the student becomes suspicious and asks questions about the problem. The learners will restructure their cognitive abilities by finding the answers from the resources provided by the methods of assimilation and accommodation including social interaction by sharing with friends or experts, 2) the students’ creative thinking comprised of fluency, flexibility, originality, and elaboration, 3) the comparison of their learning achievement were found that the their posttest scores were significantly higher than pretest at .05, and 4) the students’ opinions inheres in content, multimedia, and design.&nbsp;&nbsp;</p> ER -