TY - JOUR AU - มหาวิจิตร, พงศธร AU - ปาลวัฒน์ชัย, สุนทรีย์ PY - 2018/04/29 Y2 - 2024/03/29 TI - การพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา JF - วารสารปัญญาภิวัฒน์ JA - PANYAPIWAT JOURNAL VL - 10 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/120895 SP - 209-221 AB - <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; จิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ เป็นการมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาคณิตศาสตร์ต่างๆ และสามารถคิดเชื่อมโยงโครงสร้างความรู้ที่มีอยู่มาจัดการกับสถานการณ์หรือปัญหาเพื่อหาคำตอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถนำไปปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอจนเกิดเป็นนิสัย งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ และศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ปีการศึกษา 2559 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 40 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพผ่านเกณฑ์ 80/80 และ 2) นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีจิตนิสัยทางคณิตศาสตร์สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลจากการบันทึกข้อมูลเชิงคุณภาพสะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนส่วนหนึ่งยังมีข้อผิดพลาดในขั้นทำความเข้าใจปัญหาและขั้นตรวจสอบผล</p><p>&nbsp;</p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; Mathematical habit of mind focuses on ability to see the relationship between each mathematics content and to connect knowledge schemata to manage situations or solving problems effectively. This practice needs to be habituated. This research aimed to develop a mathematical activity package to enhance problem solving ability with mathematical habits of mind and its effects. The sample of this research consisted of 40 sixth grade students of Kasetsart University Laboratory School Center for Educational Research and Development in the academic year 2016. The results showed that (1) the efficiency of the developed mathematical activity package was higher than the 80/80 criterion; and (2) The experimental group student significantly increased their problem solving ability with mathematical habits of mind at the .05 level of statistical significance. Moreover, recorded qualitative data evince some students’ mistakes in understanding the problem and looking back steps.</p> ER -