TY - JOUR AU - Sorapat, Uthairat PY - 2014/11/27 Y2 - 2024/03/29 TI - STUDENTS’ AND INSTRUCTORS’ PERCEPTIONS OF STUDENTS’ DIFFICULTIES IN WRITING ACADEMIC ASSIGNMENTS JF - วารสารปัญญาภิวัฒน์ JA - PANYAPIWAT JOURNAL VL - 6 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/24581 SP - 115-132 AB - <p><strong>Abstract</strong><br />          The purpose of this study is to investigate the students’ and instructors’ perceptions of graduate students’ difficulties in writing academic assignments. The subjects involved in this study consisted of two groups. The first group was twenty-seven MA participants who were studying for their Master Degrees in Applied Linguistics for English Language Teaching at the School of Liberal Arts, King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT). They were still working on their<br />coursework and had not started writing their thesis. This group comprised both first year and second year students of weekday and weekend programmes. The second group consisted of five instructors teaching these students in the MA programme.</p><p>          The research instruments used for data collection were a questionnaire and a semistructured interview. The questionnaire was used to identify the difficulties of MA participants in writing their assignments. It was used with the first group of subjects. The semi-structured interview was conducted with five instructors of the MA programme in order to find out their criteria when evaluating students’ assignments and their opinions about students’ difficulties in writing academic assignments. Then, the data collected was analyzed. The results of the questionnaire were classified and calculated in percentage and mean (X) and the instructors’ answers were categorized under the same theme by numbering of respondents.</p><p>          Both groups of subjects revealed that MA participants had difficulties with the content of the task, writing skills, language usage and thinking skills. Nevertheless, each group of subjects focuses on the different areas of difficulties in writing academic assignments. The results of the study imply that the students need both methodological and psychological preparation to enable them to cope with academic writing at a satisfactory level.</p><p><strong>บทคัดย่อ</strong><br />          งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาและอาจารย์ เกี่ยวกับปัญหาในการเขียนเชิงวิชาการของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างแรกในการศึกษานี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาโทจำนวน 27 คน ในสาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์ด้านการสอนภาษาอังกฤษของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />ซึ่งกำลังศึกษารายวิชาต่างๆ ในระดับบัณฑิตศึกษา และยังไม่เริ่มดเนินการทำวิทยานิพนธ์ ทั้งชั้นปีที่ 1 และปีที่ 2ในกลุ่มที่เรียนภาคปกติและภาคพิเศษ กลุ่มตัวอย่างที่สอง คือ อาจารย์ 5 คน ที่สอนในระดับบัณฑิตศึกษาของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีธนบุรี ซึ่งเป็นผู้ประเมินงานเขียนและให้คะแนนงานของนักศึกษา<br />          เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลในการวิจัยนี้ คือ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์แบบสอบถามใช้กับนักศึกษาส่วนการสัมภาษณ์ใช้กับอาจารย์ผู้สอนนักศึกษา ข้อมูลที่ได้แสดงว่านักศึกษามีปัญหาสี่ข้อหลัก คือ ปัญหาด้านเนื้อหาสาระของงาน ปัญหาด้านทักษะการเขียน ปัญหาด้านการใช้ภาษา และปัญหาด้านทักษะในการคิด จากนั้นข้อมูลที่ได้<br />จากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์จะนำมาวิเคราะห์เป็นอัตราร้อยละและค่าเฉลี่ยในรูปแบบที่มีสาระสำคัญเดียวกันอย่างไรก็ตาม กลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มให้ความสำคัญกับประเด็นย่อยในบางปัญหาแตกต่างกัน ผลการศึกษานี้บ่งชี้ว่าควรมีการเตรียมผ้เู รียนให้พร้อมสำ หรับการเขียน เช่น วิชาการทั้งด้านวิธีการและด้านจิตใจ เพื่อให้ผ้เู รียนสามารถเขียนงานวิชาการได้ในระดับที่น่าพึงพอใจ<br /><br /></p> ER -