TY - JOUR AU - อยู่สบาย, เรือนขวัญ AU - บุญส่ง, กีรติกร PY - 2017/04/28 Y2 - 2024/03/29 TI - การศึกษาเปรียบเทียบระดับความผูกพันของพนักงานตามเกณฑ์ช่วงอายุ กรณีศึกษา กลุ่มบริษัทธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ ABC JF - วารสารปัญญาภิวัฒน์ JA - PANYAPIWAT JOURNAL VL - 9 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pimjournal/article/view/85027 SP - 121-134 AB - <p>          การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เปรียบเทียบระดับความผูกพัน 2) ทราบปัจจัยที่ทำให้เกิดความผูกพันของพนักงานแต่ละเจนเนอเรชั่น กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานของกลุ่มบริษัทธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ ABC จำนวน 787 คน เครื่องมือใช้ในการวิจัยคือ ตัวบ่งชี้ความผูกพัน แบบประเมินตัวบ่งชี้ความผูกพันฯ และแบบสำรวจความผูกพันของพนักงาน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยปัจจัยสร้างความผูกพัน ระดับความผูกพัน และผลงาน ด้วยสถิติ One Way ANOVA  ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่สร้างความผูกพันภาพรวมในระดับมาก 3 ปัจจัย คือ ด้านสภาพแวดล้อมขององค์กร (X = 3.93, S.D. = .55) ด้านลักษณะงาน (X = 3.88, S.D. = .49) และด้านบุคคลและสังคมในองค์กร (X = 3.79, S.D. = .59) ตามลำดับ ทั้งสามกลุ่มคือ Baby Boomer, Generation X และ Generation Y มีค่าเฉลี่ยด้านสภาพแวดล้อมขององค์กรสูงสุด ส่วนระดับความผูกพันและด้านผลงานอยู่ในระดับมาก (X= 4.07, S.D. = .48) กลุ่ม Baby Boomer มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ Generation X และ Generation Y เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยสร้างความผูกพัน ระดับความผูกพัน และผลงาน พบว่า ด้านลักษณะงาน ระบบองค์กร และสภาพแวดล้อมขององค์กรของกลุ่ม Baby Boomer มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ Generation X และ Generation Y ตามลำดับ (p&lt;.05) ส่วนค่าเฉลี่ยระดับความผูกพันของกลุ่ม Baby Boomer สูงกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่ม Generation Y (p&lt;.05) แต่พบว่า ค่าเฉลี่ยด้านผลงานตามเจนเนอเรชั่นไม่แตกต่างกัน</p><p><strong> </strong></p><p>          The purposes of this study were 1) to compare engagement score 2) to know engagement factors of staff divided by generation. The samples were 787 participants who worked in ABC company. The research instruments were ABC furniture group employee engagement model, employee engagement model questionnaire and engagement survey questionnaire. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation. Compare the difference of employee’s engagement drivers, engagement score and performance by One Way ANOVA statistic. The study found that overall engagement drivers at a high level, three drivers were organization climate (X = 3.93, S.D. = .55), job characteristics (X = 3.88, S.D. = .49), and people/social (X = 3.79, S.D. = .59) respectively and three groups were Baby Boomer, Generation X and Generation Y, mean of an organization climate was highest. The engagement score and performance were high level (X= 4.07, S.D. = .48) that Baby Boomer employee has a highest mean both, followed by Generation X and Generation Y respectively. Compare the difference of engagement drivers, engagement score and performance found that mean of job characteristics and organization climate in baby boomer was the highest, followed by Generation X and Generation Y respectively (p&lt;.05). Mean of engagement score in baby boomer was higher than Generation Y (p&lt;.05). But mean of performance by generation was not significantly different.     </p> ER -