@article{บินเซ็ง_2018, title={ทัศนะนักวิชาการอิสลามต่อการระงับข้อพิพาทว่าด้วยวงศ์ตระกูลด้วยกระบวนการจับฉลาก (อัลกุรอะฮ์)}, volume={5}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pnuhuso/article/view/110106}, abstractNote={<p>วงศ์ตระกูลเป็นเกียรติที่บุคคลจำเป็นต้องสงวนรักษาไว้ไม่ให้เกิดการสลับกัน เมื่อเกิดการสลับน้ำเชื้อ ตัวทารกจะด้วยเหตุการณ์ใด ลักษณะใดก็ตาม จึงจำเป็นต้องทำการชี้ชัดบุคคลกับเจ้าของตระกูลให้ได้  ในกรณีนี้นักวิชาการอิสลามใน วงศ์ตระกูลเป็นเกียรติที่บุคคลจำเป็นต้องสงวนรักษาไว้ไม่ให้เกิดการสลับกัน เมื่อเกิดการสลับน้ำเชื้อ ตัวทารกจะด้วยเหตุการณ์ใด ลักษณะใดก็ตาม จึงจำเป็นต้องทำการชี้ชัดบุคคลกับเจ้าของตระกูลให้ได้  ในกรณีนี้นักวิชาการอิสลามใน<br>อดีตมีทัศนะต่อการยืนยันวงศ์ตระกูลด้วยการจับฉลาก บทความนี้มุ่งศึกษาตำราฟิกฮฺของสำนักคิดอิสลามทั้งสี่สำนัก คือ ฮะนะฟียะฮ์ มาลิกียะฮ์ ชาฟิอียะฮ์และฮะนาบีละฮ์ โดยการวิเคราะห์ เปรียบเทียบทัศนะและสรุปผล ทำการศึกษาความหมายทั้ง<br>ทางภาษาและทางวิชาการ หลักฐานของการจับฉลากในการยืนยันวงศ์ตระกูล ทัศนะนักวิชาการอิสลามต่อการยืนยันวงศ์ตระกูลด้วยการจับฉลาก ซึ่งมีทัศนะต่างกันเป็น 2 ทัศนะ คือ อนุมัติ ซึ่งเป็นทัศนะของKharijah  bin Said; Aban bin Othman; Ibn  <br>Sireen; Omar bin Abdul Aziz; Imam as – Shafi-e; al – Zhahiriyah; Ibn Qayyim และไม่อนุมัติซึ่งเป็นทัศนะของ al – Sha’ bi; al – Nakha-e; Shuraih; al – Hasan al – Basri; al – Hanafiah. นอกจากนั้นแล้ว นักวิชาการอิสลามยังเห็นว่าการจับฉลากกับ<br>การใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านอัตลักษณ์บุคคล(กออิฟ)ในการยืนยันตัวบุคคลว่าอยู่ในอยู่ในสถานะเดียวกัน กล่าวคือ  ไม่มั่นใจในความเที่ยงตรงของผลที่ได้จากทั้งสองวิธี แต่ด้วยปัจจุบันความเจริญทางนิติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านการพิสูจน์<br>เอกลักษณ์บุคคลด้วยสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) ผลของการตรวจพิสูจน์เป็นที่ยอมรับในทุกระดับ จึงเห็นควรใช้ผลการพิสูจน์ทางนิติวิทยาศาสตร์ควบคู่กันกับการจับฉลากและการชี้ชัดโดยผู้เชี่ยวชาญด้านอัตลักษณ์ (กออิฟ)</p>}, number={1}, journal={Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences}, author={บินเซ็ง อับดุลรอยะ}, year={2018}, month={Jan.}, pages={128–136} }