@article{ชัยกองเกียรติ_2018, title={ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสงสัยล่าช้าของเด็กปฐมวัย}, volume={5}, url={https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pnuhuso/article/view/117957}, abstractNote={<p>การวิจัยเชิงพรรณนา ครั้งนี้  เป็นการศึกษาย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสงสัยล่าช้าของเด็กปฐมวัยที่มารับบริการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ  การวิจัยเชิงพรรณนา ครั้งนี้  เป็นการศึกษาย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการสงสัยล่าช้าของเด็กปฐมวัยที่มารับบริการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ <br>ศูนย์อนามัยที่ 12  กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าจำนวน 175 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะลง  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูลจากฐานข้อมูลการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริม<br>พัฒนาการเด็กปฐมวัย และคู่มือประเมินและส่งเสริมพัฒนาการเด็กกลุ่มเสี่ยง ในคลินิกสุขภาพเด็กดี เก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนตุลาคม 2558 - กันยายน 2559 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การทดสอบไค<br>แสควร์ ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยกลุ่มนี้มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าด้านการเคลื่อนไหวมากที่สุดร้อยละ 52.0  รองลงมาคือ ด้านการใช้ภาษาและด้านการเข้าใจภาษา ร้อยละ 26.2 ปัจจัยด้านมารดา ได้แก่ อายุ และการให้นมบุตรมีความสัมพันธ์กับ<br>พัฒนาการสงสัยล่าช้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาครั้งนี้สนับสนุนให้มารดาตั้งครรภ์ในช่วงอายุที่เหมาะสม และสนับสนุนประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ใน 6 เดือนแรก </p>}, number={2}, journal={Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences}, author={ชัยกองเกียรติ ปรียนุช}, year={2018}, month={Jul.}, pages={161–171} }