TY - JOUR AU - หมั่นคติธรรม, วินัย PY - 2022/01/01 Y2 - 2024/03/29 TI - โครงการวิจัยศิลปวัฒนธรรมเกาะรัตนโกสนิทร์ กลุ่ม : ศิลปกรรมและโบราณคดี JF - Suan Sunandha Asian Social Science JA - ssajournal VL - 9 IS - 1 SE - บทความวิจัย DO - UR - https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ssajournal/article/view/256593 SP - 5-18 AB - <div class="page" title="Page 1"><div class="layoutArea"><div class="column"><p>โครงการวิจัยศิลปวัฒนธรรมเกาะรัตนโกสนิ ทร กลุม : ศิลปกรรมและโบราณคดี มีวัตถุประสงค เพื่อเปน การศึกษาขอมูลทางดานศิลปกรรมและโบราณคดี ภายใตชุดโครงการวิจัยศิลปวัฒนธรรมกรุงรัตนโกสินทร และ เพื่อเปนการรวบรวมและจัดกลุมเนื้อหาทางดานศิลปกรรมและโบราณคดี ในยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทรใหเปน หมวดหมู ตามประเภทกลุมขอมูล มีวิธีการศึกษาและรวบรวมขอมูลเชิงประวัติศาสตร (ทุติยภูมิ) ที่เกี่ยวของกับ งานศิลปกรรมและโบราณคดีในยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทรตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยทําการเปรียบเทียบและ วิเคราะหขอมูลเพื่อนําไปจัดกลุมของขอมูล สรุปผลการศึกษาพรอมนําเสนอตอที่ประชุม และรวบรวมเขาสูชุด โครงการฯ ตอไป</p><p>ผลการวิจัยพบวางานพื้นที่เกาะรัตนโกสินทรนั้น มีประวัติศาสตรอันยาวนาน กลุมคนที่พักอยูอาศัยมี หลากหลายเชื้อชาติมีการผสมผสานศิลปวัฒนธรรมเขาไปในผลงานศลิปกรรมตามแตละยุคสมัยผลงานจึงมีความ สวยงาม วิจิตรบรรจง ซึ่งแสดงถึงความปราณีต และความตั้งใจในการสรางสรรคผลงานตาง ๆ และเมื่อศึกษา ขอมูลของการเปลยี่ นแปลง รูปแบบของงานศิลปกรรมและโบราณคดีในกรุงรัตนโกสินทร นั้น พบวาปจจัยที่สงผล ใหรูปแบบของงานศิลปกรรมและโบราณคดี ในกรุงรัตนโกสินทร นั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงมีอยู 3 ปจจัย หลัก ๆ ไดแก</p><p>1. จากการสืบทอดรูปแบบของงานในลักษณะ “ประเพณีนิยม” หรือ “ขนบนิยม” มาจากยุคสุโขทัย และกรุงศรีอยุธยา (ซึ่งสวนใหญจะเปนงานศิลปกรรมในชวงตั้งแต รัชกาลที่ 1-2)</p><p>2. การมีสัมพันธไมตรีที่ดีกับประเทศจีนมีการคาขายแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหวางกัน(ซึ่งสวนใหญจะ เปนงานศิลปกรรมในชวง รัชกาลที่ 3)</p><p>3. การเขามาของอิทธิพลตะวันตก ในชวงยุคการลาอาณานิคม (ผลงานศิลปกรรมในชวง รัชกาลที่ 4-5 จนถึงรัชกาลปจจุบัน)</p></div></div></div> ER -