การส่งบทความ

เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อส่งบทความ

รายการตรวจสอบก่อนส่งบทความ

ในขั้นตอนการส่งบทความ ผู้แต่งต้องตรวจสอบและปฏิบัติตามข้อกำหนดรายการตรวจสอบการส่งทุกข้อ ดังต่อไปนี้ และบทความอาจถูกส่งคืนให้กับผู้แต่งกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดทั้งหมด
  • The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
  • The submission file is in OpenOffice, Microsoft Word, or RTF document file format.
  • Where available, URLs for the references have been provided.
  • The text is single-spaced; uses a 12-point font; employs italics, rather than underlining (except with URL addresses); and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the appropriate points, rather than at the end.
  • The text adheres to the stylistic and bibliographic requirements outlined in the Author Guidelines.

คำแนะนำผู้แต่ง

คำแนะนำในการเตรียมต้นฉบับ

 การเตรียมต้นฉบับ

  1. ต้นฉบับต้องพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมไมโครซอฟเวิร์ด วินโดว์  ต้นฉบับ  ภาษาไทย  Cordia  New  Size  16  ต้นฉบับภาษาอังกฤษ  Time  New  Roman  size  12  และใช้กระดาษพิมพ์ขนาด  เอ  4  เว้นห่างจากขอบ  1  นิ้วโดยรอบ  ความยาวไม่เกิน  10 – 15 หน้า 
  2. ชื่อเรื่อง พิมพ์ไว้หน้าแรกตรงกลาง  ชื่อผู้เขียนพร้อมทั้งคุณวุฒิอยู่ใต้ชื่อเรื่องเยื้องไปทางขวามือ  ส่วนตำแหน่งทางวิชาการและสถานที่ทำงานของผู้เขียนให้พิมพ์ไว้เป็นเชิงอรรถในหน้าแรก
  3. ทั้งบทความทางวิชาการและรายงานการวิจัยต้องมีบทคัดย่อภาษาไทย พร้อมทั้งคำสำคัญ (key words)  ภาษาไทย  2-5  คำ
  4. สำหรับรายงานการวิจัย ให้เรียงลำดับหัวข้อดังนี้
    • บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    • ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
    • วัตถุประสงค์ของการวิจัย
    • สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี)
    • วิธีดำเนินการวิจัย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง  เครื่องมือการวิจัย  วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล  และการวิเคราะห์ข้อมูล)
    • ผลการวิจัย
    • การอภิปรายผล
    • ข้อเสนอแนะ
  5. ตารางหรือไดอะแกรมจะต้องบรรยาย และพิมพ์แยกจากเนื้อหาของบทความ
  6. ภาพประกอบ ถ้าเป็นภาพลายเส้นให้เขียนด้วยหมึกดำบนกระดาษอาร์ตเส้นขนาดพองามถ้าเป็นภาพถ่ายให้ใช้ขนาดโปสการ์ด  เขียนหมายเลขลำดับภาพ  และลูกศรแสดงด้านบนและด้านล่างของภาพด้วยดินสอที่หลังภาพเบาๆ  โดยจัดทำเป็นไฟล์สรุปรูป(กองบรรณาธิการสงวนสิทธิ์การเลือกตีพิมพ์ภาพสี) 
  7. การเขียนเอกสารอ้างอิง

การเขียนเอกสารอ้างอิงใช้ระบบ  APA  โดยมีรายละเอียดดังนี้

  1. การอ้างอิงในเนื้อเรื่อง

เมื่อสิ้นสุดข้อความที่ต้องการอ้างอิง ใส่ชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์และเลขหน้า ไว้ในวงเล็บต่อท้ายข้อความนั้น  คนอื่นๆ  ในกรณีที่มีผู้แต่งมากกว่า  6 คนขึ้นไปให้เขียนชื่อผู้แต่งคนแรกตามด้วย  et al  หรือ  และคนอื่นในการอ้างอิงทุกครั้ง  เช่น

  • ผู้แต่ง 1  คน 

-  ภาษาไทย      : (สมศักดิ์  ศรีสันติสุข,  2544 : 20)

-  ภาษาอังกฤษ  : (Walker,  1992 :102)

  • ผู้แต่ง 2  คน  หรือมากกว่า

-  ภาษาไทย      : (สมเกียรติ  พงษ์ไพบูลย์,  สิทธิศักดิ์  จุลศิริพงษ์ และสมพงษ์  สิงหะพล,  2542 :16)

-  ภาษาอังกฤษ     : (Fitzpatrick,  Whall,…, & Avant,  1907 : 50)

  • ผู้แต่งมากกว่า 6  คน

-  ภาษาไทย         :  (จุมพล  วนิชกุล  และคนอื่นๆ,  2543 : 72)

-  ภาษาอังกฤษ  :  (Kneip,  et  al,  2002: 2)

  1. การอ้างอิงท้ายบทความ ให้ปฏิบัติดังนี้
    • เรียงลำดับเอกสารภาษาไทยก่อนภาษาอังกฤษ
    • เรียงลำดับตามตัวอักษรชื่อผู้แต่ง ถ้าผู้แต่ง  ถ้าผู้แต่งคนเดียวกันให้เรียงตามลำดับ ปีที่พิมพ์

สำหรับภาษาอังกฤษ  ใช้ชื่อสกุลในการเรียงลำดับ

 

 ตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิงบทความจากวารสาร

Klimoski,  R.,  &  Palmer,  S.  (1993).  The  ADA  and  the  hiring  process  in  organizations.  Consulting  Psychology  Journal:Practice  and  Research.  45(2):10-36

          บทความในหนังสือพิมพ์

          ภาคภูมิ  ป้องภัย.  (3  กรกฎาคม  2542).  มุมที่ถูกลืมในพระราชวังบางประอิน.  มติชน.  หน้า  12.รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการ

          นิทัศน์  ภัทรโยธิน.  (2540)  ตลาดซื้อ  ขายสินค้าเกษตรล่างหน้า.  ในการประชุมนักบัญชีทั่วประเทศ  ครั้งที่  15  วิสัยทัศน์นักบัญชีไทย  วันที่  27 – 28  มิถุนายน  2540.  หน้า  19 – 35.  กรุงเทพฯ : สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับเงินอนุญาติแห่งประเทศไทย

แหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

อรรถศิษฐ์  วงศ์มณีโรจน์.  (2542).  ประวัติความเป็นมาของวิชาการความอุดมสมบูรณ์ของดิน.  [On-line].  Available : http://158.102.2001/Soil/009  hom~1/009421/chap1.htm#eral  [25  ตุลาคม  2542].

หนังสือ

ไพรัช  ธัชยพงษ์  และกฤษณะ  ช่างกล่อง.  (2541).  การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศแห่งชาติเพื่อการศึกษา.  กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.วิทยานิพนธ์

พรพิมล  เฉลิมพลานุภาพ.  (2535).  พฤติกรรมการแสวงหาข่าวสารและการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร  ของบริษัทธุรกิจเอกชนที่มีต่อยอดขายสูงสุดของประเทศไทย.วิทยานิพนธ์วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต   คณะวารสารศาสตร์และสื่อมวลชนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อัตราค่าตีพิมพ์

 

การชำระเงิน

 

นโยบายส่วนบุคคล

The names and email addresses entered in this journal site will be used exclusively for the stated purposes of this journal and will not be made available for any other purpose or to any other party.