Theoretical Consideration on Dynamic of Northeast Local Communities in Modern Context : Viewing Through Social Practice and Structure of Beliefs of Ancestral and Guardian Spirits

Main Article Content

ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี

Abstract

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ 1) ข้อถกเถียงและข้อสังเกต เชิงแนวคิดเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติการทางสังคมและโครงสร้าง สังคมของความเชื่อผีปู่ตา และผีคุ้มครองอื่นๆ ของชุมชนท้องถิ่นเทศบาลมหาสารคาม และใกล้เคียง 2) อธิบายพลวัตของท้องถิ่นอีสานในบริบทของสังคมสมัยใหม่ ผลการศึกษาพบว่า 1) การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ในฐานะผู้กระทำทางสังคมและ โครงสร้างสังคมของความเชื่อผีปู่ตาและผีคุ้มครองอื่นๆ ของชุมชนท้องถิ่นเทศบาล มหาสารคาม และใกล้เคียงมีลักษณะแบบวิภาษวิธีโดยดำเนินการผ่านปฏิบัติการรูปแบบ ต่างๆ ตามสภาพบริบทที่เปลี่ยนไปได้ด้วย 2) ความเชื่อผีปู่ตาสามารถยึดโยงผู้คนเข้ามา ปฏิสัมพันธ์กัน โดยมีการจัดระเบียบโครงสร้างสังคมผ่านการสร้างเครือข่ายและลำดับ ขั้นทั้งที่เป็นสังคมจินตนาการ (เครือข่ายผี) และสังคมประสบการณ์ (เครือข่ายคน) จนกลายเป็นท้องถิ่นเดียวกัน ทว่าระเบียบสังคมดังกล่าวนี้ได้ไม่ได้หยุดนิ่ง หากมีพลวัต เคลื่อนไหวไปตามบริบทสังคมในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งข้อสังเกตสำคัญของบทความนี้คือศักยภาพในการดำรงอยู่และความเข้มแข็งของโครงสร้างสังคมของประชาคมผี ในปัจจุบันนี้ยังสามารถสะท้อนบริบทของการดิ้นรน ต่อสู้ ต่อรอง ตอบโต้ของชุมชน ท้องถิ่นอีสานที่มีต่อรัฐและทุนนิยมอีกด้วย โดยแรงขับเคลื่อนสำคัญนี้มาจากอารมณ์ ความรู้สึกรวมหมู่ในการเผชิญหน้ากับวิกฤตความทันสมัยและวิกฤตอัตลักษณ์นั่นเอง

 

The objectives of this article are 1) to raise a theorical argument on interaction of agency and social practice of beliefs on ancestral and guardian spirits of Maha Salakham local communities and vimicity. 2) To explain dynamics of northeast local communities placed in modern context. The results taken from this study ware 1) there was dialectic interaction of agency and social practice of beliefs on ancestral and guardian spirits through various forms of social practices according to changing context. 2) Belief could be an important medium in joining relationship and solidarity of local communities through constructing networks and hierarchy as localization. However; social structures and orders of networks of spirits and people who believed in these belifes were also dynamic according to changing of social context through times. A noticed focus of this article was potential existence of social structure of networks of spirits and people involved could also imply social context of northeast local communities’ contestation against intervene of state and capitalist forces. Besides; it can be said that this contestation was motivated by collective emotion of people who have encountered crisis of identity and modernity as a whole.

Article Details

Section
Articles (บทความ)