TRAINING CURRICULUM FOR COMMUNITY LEADERSHIP COMPETENCIES DEVELOPMENT IN LAMPANG PROVINCE, THAILAND

Authors

  • พรนับพัน วงศ์ตระกูล Chiang Mai Rajabhat University

Keywords:

leader competency, training curriculum, community leader

Abstract

            The purposes of this research were to develop and evaluate the training curriculum for community leaders in Lampang Province, Thailand by using research and development methodology. In this research, a purposive sampling was used to select 40 community leaders and 20 potential leaders from 4 communities in Lampang that were awarded at the provincial or national level between 2008 and 2018.  The focus group was used to develop a training curriculum.  Twenty potential leaders were then trained in order to develop their leadership competencies.  The research instruments included focus group form, curriculum evaluation form, as well as satisfaction form for participants.  Content analysis was used to analyze qualitative data.  Statistics used in analyzing quantitative data were percentage, mean, and standard deviation. The results showed that the content of community leader curriculum comprises of 5 categories, including knowledge, community leadership skills, special leadership capability, effective collaborative skills, and great personality and character traits. Additionally, an evaluation on the appropriateness of community training curriculum reveals an average of 4.46 out of 5 points. Training participants had increasing their knowledge and understanding in leadership and management.  They had an overall satisfaction from attending the curriculum training at the highest level. 

References

กันย์กัญญา ใจการวงค์สกุล. (2560). การพัฒนาความรู้ทางกฎหมายแก่ชุมชนเพื่อเกิดประโยชน์ ในการจัดการปัญหาหนี้สินของประชาชน. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 10(1), หน้า 195-219.
กิตติศักดิ์ แพรวพรายรัตน์. (2553). พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอ หนองแค จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงาน ก่อสร้างและสาธารณูปโภค, สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
ทวนธง ครุฑจ้อน. (2552). กระเทาะปัญหาธรรมาภิบาลในองค์การภาครัฐ: บทวิเคราะห์จากกรณีศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 4(2), หน้า 269-280.
บงกช สุทัศน์ ณ อยุธยา. (2561). การพัฒนาสินค้าหัตถกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบ้านถวายโดยชุมชน. วารสารธรรมศาสตร์, 37(1), หน้า 125-149.
พิชญ์ณิฐา พรรณศิลป์, สัญญา เคณาภูมิ และเสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร. (2558). บทบาทของผู้บริหาร ท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 3(2), หน้า 146-161.
สถาบันการศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือ. (2560). คู่มือการพัฒนาหลักสูตรสำหรับครู กศน. ลำปาง: โรงพิมพ์บอยการพิมพ์.
สมบัติ บุญเลี้ยง, อารีย์ นัยพินิจ และธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2555). ลักษณะภาวะของผู้นำที่ดีในการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 29(2), หน้า 97-112.
สิริกร อุทัยพัฒน์. (2557). ภาวะผู้นำท้องถิ่นยุคใหม่และยุทธศาสตร์เศรษฐกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาชุมชนาธิปไตย ศึกษาเฉพาะกรณีสหกรณ์ชุมชน จังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด. วารสารวิชาการบัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 10(1), หน้า 51-58.
สุภารดี สวนโสกเชือก และคณะ. (2560). การพัฒนาสมรรถนะผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการเศรษฐกิจชุมชนในจังหวัดสุรินทร์ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ 2017 วิจัยจากองค์ความรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (หน้า 482-493). สุรินทร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
เสาวรส ประเทืองชัยศรี. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบอย่างของหัวหน้างานการพยาบาลกับ ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน เขต 13. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Stufflebeam, Daniel L., & Shinkfield, Anthony J. (2007). Evaluation theory, models and applications. San Francisco, CA: Jossey-Bass.

Downloads

Published

2019-12-31

Issue

Section

บทความวิจัย