THE DEVELOPMENT OF DIGITAL COMMERCE FOR MARKETING PROMOTION OF ONE TAMBON ONE PRODUCT (OTOP) PRODUCTS IN MAERIM DISTRICT, CHIANGMAI

Authors

  • Chanin Mahatthanachai คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

Keywords:

digital commerce, e-commerce, digital marketing, market, OTOP, Maerim

Abstract

                The objectives of this research are to create marketing knowledge and to develop a digital commerce system to promote one tambon one product (OTOP) products in Mae Rim District, Chiang Mai. The study divided into three parts, which are studying marketing and distribution of community products, developing a digital commerce system for marketing promotion of community products, and organizing training sessions in the community to improve marketing knowledge and digital technology usage. The evaluation will assess according to knowledge achievement and training satisfaction. The samples in the research consisted of Entrepreneurs in Mae Rim District, Chiang Mai, consisting of 80 people and three community enterprise groups. The researcher implemented a Purposive sampling method for sample selection. The results of the study show that the marketing and distribution of community products are mainly within the community area and trade fairs. However, the distribution using online media is only partially. The development of digital commerce for community enterprises will increase product distribution channels. Also, from the training in marketing knowledge and digital technology usage, it was found that the participants have increased their skills in marketing and digital technologies, with the average pre-test score of 7.25 and the average post-test score of 15.76. Moreover, the result of the satisfaction questionnaires shows that the participants were satisfied with the training with an average score of 4.34, which is considered very satisfied.

Author Biography

Chanin Mahatthanachai, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

References

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2558). นโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (digital
economy). กรุงเทพฯ: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
จักรกริช ปิยะ. (2557). การศึกษาการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (social media) เพื่อการบริหารงานก่อสร้าง
กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัดเทคโนบิวเตอร์ (2001) อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา.
วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานก่อสร้างและสาธารณูปโภค,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
จิราภรณ์ ศรีนาค. (2556). ศึกษาการวิเคราะห์ประเภท รูปแบบ เนื้อหา และการใช้สื่อสังคมออนไลน์
ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารศึกษา, บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชัยวรรณ์ ศรีใจภา. (2562, 25 มีนาคม). ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนลายต้องของดีแม่ริม. สัมภาษณ์.
ณัฐกานต์ เต็มไตรรัตน์. (2562). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดดิจิทัล กรณีศึกษา บริษัท ดอกบัวคู่ จำกัด.
วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารการตลาดดิจิทัล, บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
นฎกร สุดพิพัฒน์. (2560). โซเชียลเน็ตเวิร์คที่มีผลต่อนวัตกรรมกระบวนการผ่านการประยุกต์ใช้เพื่อ
ความร่วมมือยุค 2.0. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศ,
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ป้าง รัตนดิลกกุล. (2562, 20 มีนาคม). ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าปักชนเผ่าม้ง. สัมภาษณ์.
พันธวุธ จันทรมงคล, วันวิสาข์ วรรณพิพัฒน์ และพลวัชร์ จันทรมงคล. (2562). นวัตกรรมการเรียนรู้
เรื่องพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้ประกอบการสภาอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น.
วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19(2), หน้า 113-124.
ภัควรินทร์ ณรงค์วุฒิภัสร์ และสุมาลี สว่าง. (2559). การประเมินความพึงพอใจของผู้ประกอบการ
ต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ Otoptoday. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและ
สังคมศาสตร์, 2(1), หน้า 42-49.
วรพจน์ องค์วิมลการ. (2561). การพัฒนาดิจิทัลคอมเมิร์ซแพลตฟอร์มบนพื้นฐานโครงสร้างบูรณาการ
ของสถาปัตยกรรมองค์กรรูปแบบมาตรฐานโทกาฟ 9.1 กรณีศึกษา ธุรกิจฟาร์มเกษตร อัจฉริยะ.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอแม่ริม. (2561). รายงานผู้ลงทะเบียน OTOP ปี 2557-2560 อำเภอแม่ริม
จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอแม่ริม.
แอนนา พายุพัด, รัศแก้ว ศรีสด และรัชกร วงษ์คำชัย. (2558). รายงานผลการวิจัย การพัฒนาต้นแบบ
เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับธุรกิจ OTOP 3-5 ดาว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ธนบุรี.
Hootsuit. (2019). Digital 2019 Thailand (Online). Available: https://www.slideshare.net/
DataReportal/digital-2019-thailand-january-2019-v01 [2019, May 26].

Downloads

Published

2020-03-26

Issue

Section

บทความวิจัย