THE ARRANGEMENT AND TRANSMISSION OF KHONG WONG-YAI SOLO ON PLENG PAE-SAMCHAN

Authors

  • Pranrapee Boonplian สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Keywords:

solo, Khong Wong-Yai, Pae-Samchan

Abstract

The purposes of this research are to arrange and transmit Khong Wong-Yai Solo on Pleng Pae-Samchan to the students of the Division of Music Education, Faculty of Humanities and Social Sciences, Nakhon Pathom Rajabhat University. The specific objectives are: 1) to develop a skills practice for Khong Wong-Yai Solo on Pleng Pae-Samchan, and 2) to assess the efficiency of the skills practice, and to explore the satisfaction of learners engaged to transmit Khong Wong-Yai Solo on Pleng Pae-Samchan. The research consists of two phases which are creative and experimental research.

The results indicated that the Khong Wong-Yai Solo on Pleng Pae-Samchan was arranged in a way that starting from easy to difficult and without repetition from the note recording of Piang-Or level with 4 bars or 28 lines in length. The transmission of Khong Wong-Yai Solo employed the creative skills practicing 7 playing techniques including Zhiew, Sabud Kraw, Kwai-mue, Kod-neub-nhub, Kratob-ku, Kward, and Kro. The efficiency was evaluated by experts provided IOC of 1.00. The first and second year students were reported with skills on Khong Wong-Yai Solo on Pleng Pae-Samchan at the levels of 5.29 and 6.52, respectively. The satisfaction of learners engaged to transmit Khong Wong-Yai Solo on Pleng Pae-Samchan was at a level of 4.66 with the satisfaction on transmission at 4.68 and the skills practice at 4.64. 

References

กิตติ กิตติศัพท์. (2547). การประเมินตามสภาพจริง. วารสารโรงเรียนนายเรือ, 4(4), หน้า 8-18.
ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2557). สารานุกรมเพลงไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.
ดนตรีไทยมรดกแห่งสุนทรียศาสตร์ (ออนไลน์). (2553). เข้าถึงได้จาก: https://thaimusicamp.wordpress.com/tag/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7/?fbclid=IwAR1qeC1IZvPiQ29TVQcIfUtNF7znMtTTa7hzmU6vigZj65Po3p9QhseVCDc [2563, 5 พฤษภาคม].
ดุษฎี มีป้อม. (2544). การศึกษาลักษณะทางเดี่ยวระนาดทุ้มเพลงพญาโศกของครูพุ่ม บาปุยะวาทย์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
นิกร จันทศร. (2540). ศึกษาเพลงเดี่ยวกราวในทางฆ้องวงใหญ่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยดุริยางควิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นิพนธ์ กล่ำกล่อมจิตร. (2556). การศึกษาวิธีการถ่ายทอดดนตรีไทยในระบบโรงเรียนและบ้านดนตรีไทย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญธรรม ตราโมท. (2545). คำบรรยายวิชาดุริยางคศาสตร์ กรมศิลปากร. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์.
พิชิต ชัยเสรี. (2561). พระประดิษฐ์ไพเราะ (มี ดุริยางกูร) (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://mulinet3.li. mahidol.ac.th/elib/ cgi-bin/opacexe.exe?op=dig&lang=0&db=MUSIC&pat=code&cat=aut&skin =u&lpp=16&catop=&scid=zzz&ref=A:@628&nx=1 [2562, 25 กันยายน].
มนตรี ตราโมท และวิเชียร กุลตัณฑ์. (2523). ฟังและเข้าใจเพลงไทย. กรุงเทพฯ: ไทยเขษม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.
วรสุดา บุญยไวโรจน์. (2536). การพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ในระดับประถมศึกษา เรื่องน่ารู้สำหรับครูคณิตศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุรศักดิ์ จำนงสาร. (2541). การศึกษาทางระนาดเอกเพลงแป๊ะ 3 ชั้น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยดุริยางควิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุรัตน์ชัย สิริรัตนชัยกุล. (2549). วิเคราะห์เดี่ยวระนาดทุ้มเพลงสารถี 3 ชั้น ทางครูสมภพ ขำประเสริฐ.วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางค์ไทย, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อกนิษฐ์ กรไกร. (2549). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้กาพย์ยานี 11 ด้วยแบบฝึกทักษะชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ Co-op Co–op และแบบเดี่ยว. การศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อุทัย ศาสตรา. (2553). การศึกษากระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงระนาดเอกของครูประสิทธิ ถาวร ศิลปินแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Hickey, Maud. (1999). Assessment Rubrics for music composition: Rubrics make evaluations concrete and objective, while providing students with detailed feedback and the skills to become sensitive music critics. Music Educators Journal, 85(4), pp. 26-52.
Zhukov, Katie. (2009). Effective practicing: A research perspective. Australian Journal of Music Education, 1, pp. 3-12.

Downloads

Published

2020-12-28

Issue

Section

บทความวิจัย