ปัจจัยการจัดการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดอุตรดิตถ์
คำสำคัญ:
ปัจจัยการจัดการท่องเที่ยว, ความสามารถในการแข่งขัน, จังหวัดอุตรดิตถ์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยการจัดการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในจังหวัดอุตรดิตถ์ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน จำนวน 151 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคำนวณหาความสัมพันธ์ที่เป็นเหตุและผลซึ่งกันและกันด้วยการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณแบบเส้นตรง พบว่าปัจจัยการจัดการท่องเที่ยวทุกตัวแปรประกอบด้วย ภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีม การวิจัยพัฒนาและความรู้ และคุณภาพการจัดการมีอิทธิพลต่อความสามารถในการแข่ง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความถดถอยพหุคูณในรูปคะแนนมาตรฐาน (ß) เท่ากับ-0.144 0.329 0.607 และ 0.148 ตามลำดับ โดยสมการพยากรณ์จะได้จากการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติระดับ .01 และ .05
References
ทักษะส่วนบุคคลสู่ความเป็นเลิศในระบบสังคมเครือข่ายข้อมูลของพนักงานให้บริการสายการบิน
พาณิชย์ไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชวลิต นิ่มละออ. (2557). อิทธิพลของปัจจัยเชิงประจักษ์ที่มีผลต่อผลการดำเนินธุรกิจของอุตสาหกรรม
เครื่องนุ่งห่มไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, วิทยาลัย
การบริหารและจัดการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
เทวินทร์ วารีศร. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อก่อเกิดนวัตกรรม (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
http://www.tewin.org/UploadImage/95a9175e-1842-452a-8667-5be8ef541d5e.pdf [2560, 22 มิถุนายน].
ธนัณฎา ประจงใจ. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงกับการทํางานเป็นทีมตามความคิดเห็นของครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏรําไพพรรณี.
ประชาชาติธุรกิจ. (2018). 55 เมืองรอง เติบโตทุกมิติ ททท. เร่งสร้างแบรนด์ กระตุ้นรายจังหวัด (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://www.prachachat.net/tourism/news-205390 [2560, 22 มิถุนายน].
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2555). โลกาภิวัตน์กับท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.
สุนทรารักษ์ สุทธิจันทร์. (2557). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับในประเทศไทย (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://www.tci-thaijo.org/index.php/npuj/article/view/55263 [2561, 14 มิถุนายน].
Badatala, Ankit. (2017). The effects of playing cooperative and competitive video games on teamwork and team performance. International Journal of Humanities and Social Science Research, 2(12), pp. 24-28.
Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nd ed.). Hillsdale, NJ:
Lawrence Erlbaum Associates.
He, Hongwei, Baruch, Yehuda, & Lin, Chieh-Peng. (2014). Modeling team knowledge sharing and team
flexibility: the role of within-team competition. Human Relations, 67(8), pp. 947-978.
Jansson, Johan, & Waxell, Anders. (2011). Quality and regional competitiveness (Online). Available: https://doi.org/10.1068/a4469 [2016, June 22].
Lakhal, Lassaad. (2009). Impact of quality on competitive advantage and organizational performance. Journal of the Operational Research Society, 60(5), pp. 637-645.
Lee, Seojin. (2015). Quality of government and tourism destination competitiveness. Tourism Economics, 21(4), pp. 881-888.
Lenka, Usha. (2016). Research and development teams as a perennial source of competitive advantage
in the innovation adoption process (Online). Available: https://journals.sagepub.com/doi/
10.1177/0972150916630841 [2016, June 21].
Wingwon, Boonthawan, & Piriyakul, Montree. (2010). PLS path model for effects of entrepreneurship,
leadership, IT and Guanxi on organization performance SMEs in Chiang-Mai, Lamphun and
Lampang Provinces. Lampang: Faculty of Management Science, Lampang Rajabhat University.
World Economic Forum. (2016). The global competitiveness report 2016–2017 (Online). Available:
https://www.ieseinsight.com/doc.aspx?id=1859&ar=&idi=2&idioma=2 [2016, May 7].
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี