Mediation Measures to Support Debtors Affected by COVID-19
Abstract
COVID-19 pandemic which has spread abruptly and severely across the world has caused the significant contract and adverse effect to economics. This has affected to financial status of household and business sector and to the debtors’ ability to pay off debt their debtors which has significantly declined while debt has abruptly increased especially due to interest accumulated. As a result, Debtors have been brought to the debt collection process, court procedure and their properties have been seized for pay off debt. Many countries including Thailand has implemented many measures to rescue all debtors.
For Thailand which the mediation process has been enacted in both Civil and Procedure Code and the Law on Mediation, Thai authorities has brought the principle of mediation as fundamental of measures, namely “Debt Relief Measures” “Debt Clinic Project” together with “Measure to Support Mediation”, supporting and alleviating debtors facing with financial difficulties caused by COVID-19. Those measures will promote and support both creditors and debtors to employ mediation to solve debt issue. This will be the outset to use mediation as effective instruments to solve not only household but also business debt and will be significant factor making debtors to operate their business as usual when COVID-19 situation unfolds.
References
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, ‘โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)’<https://ddcportal.ddc.moph.go.th/portal/apps/opsdashboard/index.html#/20f3466e075e45e5946aa87c96e8ad65> สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2565.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘เงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือน’, < ธนาคารแห่งประเทศไทย (ข้อมูลสถิติ) EC_MB_039 เงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือน 1/ (bot.or.th)> สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2565.
กรุงเทพธุรกิจ, ‘หนี้ครัวเรือน” พุ่งทะลุ 90% ต่อจีดีพี สูงสุดในรอบ 18 ปี’, <https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/946680> สืบค้นเมื่อ 11 สิงหาคม 2564.
Yan Liu, Jose Garrido and Chanda DeLong, ‘Private Debt Resolution Measures in
the Wake of the Pandemic’, <https://www.imf.org/-/media/Files/Publications/covid19-special-notes/en-special-series-on-covid-19-private-debt-resolution-measures-in-the-wake-of-the-pandemic.ashx>, สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564.
การไกล่เกลี่ยชั้นบังคับคดี เป็นวิธีการระงับข้อพิพาทเพื่อยุติการบังคับคดีโดยมี “ผู้ไกล่เกลี่ย” ทำหน้าที่ช่วยเหลือ เสนอแนะแนวทาง เพื่อให้คู่กรณีหาทางออกของข้อพิพาทร่วมกัน หากตกลงกันได้จะเป็นผลให้มีการถอนการยึดทรัพย์ ถอนการอายัดทรัพย์ หรือถอนการบังคับคดี โดยการทำบันทึกข้อตกลง ซึ่งมีผลผูกพันให้คู่กรณีต้องปฏิบัติตาม โปรดดู ศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท กรมบังคับคดี, ‘ประวัติความเป็นมา’, < ประวัติและความเป็นมา (led.go.th)>, สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564.
สินเชื่อส่วนบุคคล ปกติแล้วจะหมายความถึงการให้สินเชื่อเพื่อให้ผู้ได้รับสินเชื่อนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนบุคคลเอง โดยอาจจะเพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการ หรือแม้กระทั่งการไม่ระบุวัตถุประสงค์ ซึ่งตามนิยามที่กำหนดในประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยที่ สนส.12/2563 เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกำกับ ลงวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 กำหนดลักษณะของสินเชื่อที่จะเข้าข่ายสินเชื่อส่วนบุคคลไว้ ทั้งการให้กู้ยืมเงิน การรับซื้อ ซื้อลด หรือรับช่วงซื้อลดตั๋วเงินหรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใด อย่างไรก็ดี สินเชื่อส่วนบุคคลอาจจะมีทรัพย์สินเป็นประกันหรือไม่ก็ได้ ซึ่งกรณีที่ไม่มีหลักประกันหรือสินเชื่อแบบ clean loan ก็จะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทยตามประกาศข้างต้น
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท.ฉบับที่ 23/2560 เรื่อง โครงการแก้ไขปัญหาหนี้ส่วนบุคคลที่ไม่มีหลักประกัน (คลินิกแก้หนี้)’, <https://www.bot.or.th/Thai/Pressandspeeches/Press/Newd2560/n2360t.pdf>, สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘โครงการคลินิกแก้หนี้ หนึ่งในเสาหลักของการแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือนไทย’, <https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Documents/PhraSiam0362/TheKnowledge_DebtRestructure.pdf>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘คลินิกแก้หนี้’, <คลินิกแก้หนี้ (1213.or.th)>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564 และคลินิกแก้หนี้ by SAM, ‘ความเป็นมาของโครงการ’, <https://www.debtclinicbysam.com/%e0%b8%a3%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b8%a5%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%ad%e0%b8%b5%e0%b8%a2%e0%b8%94%e0%b9%82%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%87%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3/> , สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2565.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘คำถาม-คำตอบ ทางด่วนแก้หนี้’ <https://www.1213.or.th/th/debtrestructuringprojects/QA%20%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%20public%2020%2004%2063.pdfhttps://www.1213.or.th/th/debtrestructuringprojects/QA%20%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%20public%2020%2004%2063.pdf> สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท.ฉบับที่ 22/2563 เรื่อง แบงค์ชาติเปิด “ทางด่วนแก้หนี้” เชื่อมเจ้าหนี้-ลูกหนี้ ให้ปรับหนี้ร่วมกัน’, <https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Press/2020/Pages/n2263.aspx> สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘กระบวนการลงทะเบียนทางด่วนแก้หนี้’, < ทางด่วนแก้หนี้ (1213.or.th)>, สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2565.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘รายงานประจำปี 2564’, , สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2565.
ชวนันท์ ชื่นสุข และเสมอใจ กิตติดุษฎีกุล, ‘สิทธิของลูกหนี้ในการไกล่เกลี่ยปัญหาหนี้สิน’, <https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_27May2021.aspx>, สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2564.
ธปท.ระบุว่าการจัดทำบันทึกความตกลงร่วมกันระหว่าง ธปท.และกระทรวงยุติธรรมถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญของความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ผ่านการพัฒนาศักยภาพของผู้ไกล่เกลี่ยให้มีความรู้ความเข้าใจ และความชำนาญทางด้านการเงินเพิ่มมากขึ้น และสนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ตลอดจนร่วมกันส่งเสริมให้เจ้าหนี้ และลูกหนี้ ใช้การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นช่องทางในการแก้ไขปัญหาหนี้ โดยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทถือเป็นอีกหนึ่งกลไกสำคัญในการแก้ไขปัญหาหนี้สิน นอกเหนือจากการปรับโครงสร้างหนี้ระหว่างเจ้าหนี้และลูกหนี้ ซึ่งการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทจะมีคนกลางช่วยเจรจาไกล่เกลี่ย ทำให้การแก้ไขปัญหาหนี้สินของประชาชนมีความเป็นธรรมมากขึ้น โดยไม่ต้องฟ้องคดีที่ศาล มีความสะดวก รวดเร็ว ช่วยลดปริมาณคดีที่จะขึ้นสู่ชั้นศาล ช่วยลดค่าเสียโอกาสและค่าใช้จ่าย ซึ่งจะช่วยให้การจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โปรดดูธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท.ฉบับที่ 84/2563 เรื่อง ธนาคารแห่งประเทศไทยและกระทรวงยุติธรรมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท’, <ธนาคารแห่งประเทศไทยและกระทรวงยุติธรรมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (bot.or.th)>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
ธปท.และสำนักงานศาลยุติธรรม ได้เห็นพ้องร่วมกันว่า มีความจำเป็นจะต้องสร้าง “วัฒนธรรมการไกล่เกลี่ย” โดยปรับปรุงและยกระดับกลไกการไกล่เกลี่ยหนี้ซึ่งครอบคลุมทั้งช่วงก่อนฟ้องคดี หลังฟ้องคดี หลังคำพิพากษา และในชั้นบังคับคดี ให้มีประสิทธิภาพและเป็นมาตรฐาน เพื่อให้เจ้าหนี้และลูกหนี้สามารถหาทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้ร่วมกันได้อย่างรวดเร็วและเป็นธรรม ให้ลูกหนี้สามารถฟื้นฟูฐานะทางการเงินได้อย่างแท้จริง จึงได้จัดทำบันทึกความตกลงร่วมกันโดยให้ความสำคัญในเรื่อง (1) การกำหนดแนวปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานกลางสำหรับการไกล่เกลี่ยคดีผู้บริโภค อาทิ การคิดดอกเบี้ยผิดนัดชำระ การกำหนดระยะเวลาผ่อนชำระหนี้ที่เหมาะสมกับฐานะทางการเงินของลูกหนี้แต่ละราย และมีขั้นตอนกระบวนการไกล่เกลี่ยที่ชัดเจน (2) การเพิ่มความรู้ความชำนาญทางด้านการเงินให้กับผู้ไกล่เกลี่ย เพื่อให้เกิดข้อตกลงที่ลูกหนี้สามารถปฏิบัติได้จริง ซึ่งจะเป็นประโยชน์กับทั้งลูกหนี้และเจ้าหนี้ (3) การส่งเสริมให้ประชาชนและสถาบันการเงินใช้ช่องทางไกล่เกลี่ยมากขึ้น ทั้งนี้ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากความร่วมมือระหว่าง ธปท.และสำนักงานศาลยุติธรรม จะครอบคลุมทั้งการลดลงของจำนวนคดีที่จะเข้าสู่การพิจารณาของศาล การลดต้นทุนของประชาชน สถาบันการเงิน และระบบการเงินโดยรวม และการลดการเสียโอกาสทางธุรกิจ และเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจ โปรดดู ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท.ฉบับที่ 24/2564 เรื่อง ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานอัยการสูงสุดลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการด้านการอบรมและเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายและความรู้ด้านการเงินเพื่อใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท’ <https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Press/2021/Pages/n2464.aspx>,สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
ธปท. และสำนักงานอัยการสูงสุด ได้จัดทำบันทึกความตกลงร่วมกันโดยมีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาหนี้สินของประชาชน สร้างความเป็นธรรมในสังคม และให้ความช่วยเหลือลูกหนี้อย่างยั่งยืนและครบวงจร ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจของสำนักงานอัยการสูงสุดด้านการคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนผ่านการให้คำปรึกษา โดยผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายที่มีความรู้ความเข้าใจด้านการเงิน โดย ธปท. จะเป็นที่ปรึกษาและส่งเสริมความรู้ความเชี่ยวชาญทางการเงินแก่พนักงานอัยการ ในขณะเดียวกันพนักงานอัยการคุ้มครองสิทธิก็พร้อมที่จะให้คำปรึกษาทางกฎหมายและไกล่เกลี่ยประนอมหนี้ให้กับลูกหนี้ โปรดดู ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท.ฉบับที่ 24/2564 เรื่อง ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานอัยการสูงสุดลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการด้านการอบรมและเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายและความรู้ด้านการเงินเพื่อใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท’, <ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานอัยการสูงสุด ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการด้านการอบรมและเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายและความรู้ทางด้านการเงินเพื่อใช้ในการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท (bot.or.th)>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท.ฉบับที่ 24/2564 เรื่อง ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานอัยการสูงสุดลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการด้านการอบรมและเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายและความรู้ด้านการเงินเพื่อใช้ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท’, <https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Press/2021/Pages/n2464.aspx>,
วารสารการเงินการธนาคาร, ‘ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานศาลยุติธรรม ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท’, <https://www.moneyandbanking.co.th/article/news/bot-mou-270164/>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘มหกรรมไกล่เกลี่ยหนี้บัตรเครดิตและสินเชื่อส่วนบุคคล’, <https://www.bot.or.th/Thai/AboutBOT/Activities/Pages/PRNews13Feb2021.aspx>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท.ฉบับที่ 6/2564 เรื่อง ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานศาลยุติธรรมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท’, <ธนาคารแห่งประเทศไทยและสำนักงานศาลยุติธรรม ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (bot.or.th)>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท. ฉบับที่ 37/2564 เรื่อง ธปท. เปิดมหกรรมไกล่เกลี่ยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ออนไลน์’, <https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Press/2021/Pages/n3764.aspx>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
สำนักพิมพ์ inforquest, ‘ธปท.ชวนร่วมลงทะเบียนไกล่เกลี่ยหนี้เช่าซื้อรถยนต์ ก่อนสิ้นสุด 31 ส.ค.’, , สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
ธนาคารแห่งประเทศไทย, (เชิงอรรถ 28). และธนาคารแห่งประเทศไทย, ‘ข่าว ธปท.ฉบับที่ 26/2564 เรื่อง ธปท. เผยงานมหกรรมไกล่เกลี่ยหนี้บัตรมีผู้สนใจกว่า 2 แสนรายและเตรียมพิจารณาให้ครอบคลุมสินเชื่อเช่าซื้อเพิ่มเติม’<https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Press/2021/Pages/n2664.aspx>, สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2564.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 วารสาร ที เอช เอ ซี สถาบันอนุญาโตตุลาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.