“ผิดนัด” กับ “ผิดสัญญา” เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร Default vs Breach of Contract : What are the differences?
Main Article Content
Abstract
According to the Thai Civil and Commercial Code, “default” means that the debtor has failed to perform an obligation which wastied to aspecific date on the calendar. Where no calendar date was specified, the debtor is in default after warning given by the creditor as provided in Section 204 of the CCC. The words, “breach of contract,”mean that the debtor has failed to perform his obligation as provided in the contract. Both “default” and “breach of contract” involve failure to perform the obligation under the contract. However, not all breaches of contract imply that the debtor is in default. It depends upon whether the date for performance is fixed by the calendar or not. Besides, the effect of default is much harder than breach of contract.
Article Details
References
จิ๊ด เศรษฐบุตร. หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้. พิมพ์ครั้งที่ 21 แก้ไขเพิ่มเติมโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ดาราพร ถิระวัฒน์. กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556.
ดาราพร ถิระวัฒน์. กฎหมายหนี้ : หลักทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.
ไพโรจน์ วายุภาพ. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหนี้. พิมพ์ครั้งที่ 9.กรุงเทพมหานคร: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2554.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, 2556.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 4 แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน, 2556.
วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. พจนานุกรมรวมกฎหมายไทย กว่า 400 พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวงประกาศกระทรวง. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์รวมสาส์น, 2527.
สมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์), ขุน. พจนานุกรมกฎหมาย : บรรจุคำตั้งแต่โบราณกาลถึงปัจจุบันกาล สำหรับความสะดวกในผู้ใคร่ศึกษาและผู้ต้องการทราบ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์-วิญญูชน, 2549.
เสนีย์ ปราโมช. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่ม 2 (ภาคจบบริบูรณ์). พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ.2560 แก้ไขปรับปรุงโดย ดร.มุนินทร์ พงศาปาน. กรุงเทพมหานคร: กองทุนศาสตราจารย์ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย-ธรรมศาสตร์, 2560.
โสภณ รัตนากร. คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหนี้ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์นิติบรรณาการ, 2553.