การดำเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ศึกษากรณีการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26

Main Article Content

ฐิติรัตน์ ยะอนันต์

Abstract

             ในปัจจุบันปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงเป็นอย่างมาก และเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อประเทศต่าง ๆ บนโลก แทบทุกประเทศได้หันกลับมาให้ความสำคัญกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเนื่องจากผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่แต่ละประเทศต่างได้เผชิญ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเรื่องยาก เนื่องจากมีลักษณะเป็นปัญหามลพิษข้ามพรมแดนและต้องอาศัยการบริหารจัดการอย่างบูรณาการของการใช้อำนาจรัฐ


           ในบทความนี้จะพิจารณาให้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การบริหารจัดการปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในปัจจุบัน และกล่าวถึงผลสรุปของการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 ที่เกิดขึ้นเพื่อนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างความเข้าใจ เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย

Article Details

Section
บทความวิชาการ (Academic Article)

References

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สนั่น!! ก่อนการประชุม COP26 ไทยถูกจัดอันดับเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด 10 อันดับแรก[Online]. Available URL: https://actionforclimate.deqp.go.th/news/2790/#, 2564 (ตุลาคม, 17).

กระทรวงการต่างประเทศ. นายกรัฐมนตรีเข้าร่วมการประชุมCOP26 World Leaders Summit ณ เมืองกลาสโกว์สหราชอาณาจักร[Online]. Available URL:https://www.mfa.go.th/th/content/cop26-pm?cate=5d5bcb4e15e39c306000683b, 2565 (มกราคม, 5).

กอบกุล รายะนาคร.กฎหมายกับการจัดการทรัพยากรในลุ่มแม่น้ำโขง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2540.

______. กฎหมายกับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน,2550.

จริยา เสนพงศ์. หากทำตามสัญญาที่ COP26 รัฐบาลต้องกล้าปลดระวางถ่านหิน [Online]. Available URL: https://www.greenpeace.org/thailand/story/21587/climate-cop26-th-prime-minister-speech-criticize/, 2565 (มกราคม, 10).

ธีรชัย เกื้อเกตุ. “ความตกลงปารีส: โครงสร้างใหม่ทางกฎหมายในการจัดการกับ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ.” วารสารรามคำแหง ฉบับนิติศาสตร์ 6, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560): 36-37.

ธารา บัวคำศรี. เปลี่ยนผ่านพลังงาน ปลดระวาง "ถ่านหิน" สู่เป้าลดก๊าซเรือนกระจก [Online]. Available URL: https://www.bangkokbiznews.com/social/972751, 2565 (มกราคม, 5).

เนตรธิดาร์ บุนนาค. รายงาน IPCC ล่าสุด เตือนว่า อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น จะทำให้เกิดสภาพอากาศสุดขั้วรุนแรงที่ “ไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์ [Online]. Available URL: https://www.sdgmove.com/2021/08/10/ipcc-sixth-assessment-report-climate-extreme/, 2564 (ตุลาคม, 17).

ปวริศร เลิศธรรมเทวี. สิทธิด้านสิ่งแวดล้อมกับรัฐธรรมนูญ.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์

นิติธรรม, 2559.

“พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562.” ราชกิจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 124 ตอนที่ 31 ก/หน้า 53 (6 กรกฎาคม 2550): 19.

“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, มาตรา 41.” ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก (6 เมษายน 2560): 11.

รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์. จับตาร่างกฎหมายโลกร้อนของไทย เราสามารถเข้าถึงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทจริงหรือ[Online]. Available URL: https://www.greenpeace.org/thailand/story/17760/climate-emergency-thai-climate-change-law/, 2565 (มกราคม, 15).

“ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 2550.” ราชกิจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 124 ตอนพิเศษ 75 ง (20 มิถุนายน 2550): 5.

วีรพัฒน์ ปริยวงศ์. การใช้อำนาจอธิปไตยสร้างกฎหมายระหว่างประเทศ:หนังสือสัญญาบางประเภทอันต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา[Online]. Available URL: http://public-law.net/publaw/view.aspx?id=1214, 2565 (มกราคม, 5).

สิญา อุทัย. “บทบาทของสหภาพยุโรปต่อปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก.” วารสารยุโรปศึกษา 18, 1 (มิถุนายน 2552): 82-83.

สำนักข่าวสิ่งแวดล้อม. ไทยร้อนขึ้นแล้ว 1.5 เซลเซียส เตรียมคลอดพ.ร.บ.โลกร้อนอีก 2 ปี [Online]. Available URL: https://greennews.agency/?p=21881&fbclid=IwAR2Zhjn1LoefuNhc4Mnf2XMgpBkV3jhurmSqHxfxKqODwojqK0bY0VfTaZQ, 2565 (มกราคม, 7).

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. ฝ่ายค้นคว้าและเปรียบเทียบกฎหมาย กองกฎหมายต่างประเทศ. พัฒนาการทางกฎหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. กรุงเทพมหานคร : ฝ่ายค้นคว้าและเปรียบเทียบกฎหมาย กองกฎหมายต่างประเทศสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2563.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. “บันทึกหลักการและเหตุผลประกอบร่างพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. ....[Online]. Available URL: https://qrcgcustomers.s3-eu-west-1.amazonaws.com/account10330187/9794131_2.pdf?0.25465363777216465, 2565 (กุมภาพันธ์, 13).

สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน. กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ (UNFCCC) [Online]. Available URL: http://www.eppo.go.th/index.php/th/plan-policy/climatechange/unitednation/unfccc, 2565 (มกราคม, 5).

______.พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) [Online]. Available URL: http://www.eppo.go.th/index.php/th/plan-policy/climatechange/unitednation/kyotocol-protocol/kyotocol-protocol#, 2565 (มกราคม, 5).

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. นายกฯ กล่าวถ้อยแถลงต่อที่ประชุมระดับผู้นำ COP26 [Online]. Available URL: https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/47700?, 2565 (มกราคม, 5).

สมาคมเครือข่ายโกลบอลคอมแพ็กแห่งประเทศไทย. การประชุม COP26 กับการยกกระดับวิถีชีวิตใหม่ที่ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน : การลงมือปฏิบัติที่เป็นจริง [Online]. Available URL: https://globalcompact-th.com/news/detail/632, 2565 (มกราคม,25).

อนันต์ คงเครือพันธุ์. “คดีปกครองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการตีความข้อพิพาท.”

วารสารวิชาการศาลปกครอง 1 (มกราคม – มีนาคม 2563): 97-128.

อนันต์ คงเครือพันธุ์ และคณะ. กฎหมายกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2559.

______.รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาสาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2562.

Climate Action Network International.RESULTS Monitoring Climate Mitigation Efforts of 60 Countries plus the EU – covering 92% of the Global Greenhouse Gas Emissions. Germany: Bonn, 2021.

Eckstein, David. Vera Künzel, Laura Schäfer. Global Climate Risk Index 2021 [Online]. Available URL: https://www.germanwatch.org/en/19777, 2021 (October, 19).

Greenpeace Thailand.ปลดระวางถ่านหินเพื่อการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมในประเทศไทย [Online]. Available URL: https://www.greenpeace.org/thailand/publication/21396/climate-coal-phase-out-coal-thailand-report/, 2565 (‎กุมภาพันธ์‎, 27).

Jazeera, Al. What has your country pledged at COP26? [Online]. Available URL: https://www.aljazeera.com/news/2021/11/14/infographic-what-has-your-country-pledged-at-cop26?fbclid=IwAR1JsUTPFQB87N-QeHoCGrrc4O7AwJfecamwPkDu52BV65ZppW5StU91J9o, 2021 (December, 20).

Thai Publica.“COP26 ปิดฉากด้วยความหวังคุมอุณหภูมิไม่เกิน 1.5 องศาแต่ประนีประนอมเรื่อง “ถ่านหิน” [Online]. Available URL: https://thaipublica.org/2021/11/cop26-closes-with-consensus-but-compromise-coal-deal/, 2565 (มกราคม, 5).

The Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC).Summary for Policymakers. In: Climate Change 2021 [Online]. Available URL: https://www.ipcc.ch/report/ar6/wg1/downloads/ report/IPCC_AR6_WGI_SPM.pdf, 2021 (October, 16).

Thomas, Vinod. Jose Ramon G. Albert. and Rosa T. Perez. Climate-Related Disasters in Asia and the Pacific, 2013 [Online]. Available URL: https://www.adb.org/sites/default/files/publication/30323/ewp-358.pdf, 2021 (October, 19).

UNFCCC Sites and platforms.Key aspects of the Paris Agreement [Online]. Available URL: https://unfccc.int/process-and-meetings/the-paris-agreement/the-paris-agreement/key-aspects-of-the-paris-agreement, 2021 (October, 21).

UN climate change conference UK 2021. GLASGOW LEADERS’ DECLARATION ON FORESTS AND LAND USE[Online]. Available URL: https://ukcop26.org/glasgow-leaders-declaration-on-forests-and-land-use/?fbclid=IwAR3kYXPwKP72qmZSaQe0bOD_

ig7usa9w5GYP8vqLLFtgx7qzNUWe5ag0GA, 2021 (December, 20).

Vogler, John and Imber, Mark F,EU action against climate change: Leading global action to

and beyond, European Commission. Belgium: 2007.

World Commission on Environment and Development.Our Common Future. Oxford: Oxford University Press, 1987.