มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองแรงงานแพลตฟอร์มดิจิทัล: ศึกษากรณีธุรกิจรับส่งอาหารในประเทศไทย

Main Article Content

นันทพล พุทธพงษ์

Abstract

           พัฒนาการของเทคโนโลยีดิจิทัลทำให้เกิดการทำงานรูปแบบใหม่ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล ปัจจุบันการทำงานของแรงงานแพลตฟอร์มในธุรกิจรับส่งอาหารหรือ “ไรเดอร์” ยังไม่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายแรงงานเพราะลักษณะของงานแพลตฟอร์มที่แยกเป็นงาน ๆ ผ่านการจัดการของระบบอัลกอริทึม อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาลักษณะการทำงานของไรเดอร์นั้นมีลักษณะทั้งอยู่ภายใต้อำนาจควบคุมบังคับบัญชาและมีความเป็นอิสระในเวลาเดียวกัน จึงเป็นประเด็นที่มีความยากในการพิจารณาสถานะและมาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองแต่สิ่งที่ชัดเจนคือไรเดอร์เป็นแรงงานที่มีความเปราะบางในการทำงานเพราะทำงานในลักษณะเดียวกับลูกจ้างแต่ไม่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายแรงงาน


          บทความวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์มาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองไรเดอร์ของสหรัฐอเมริกาและราชอาณาจักรสเปน ประกอบกับหลักการ แนวคิด และทฤษฎีทางกฎหมายในการคุ้มครองไรเดอร์ โดยศึกษามาตรการทางกฎหมายที่จะคุ้มครองไรเดอร์ในประเด็นสถานะทางกฎหมาย ค่าตอบแทน จำนวนชั่วโมงการทำงาน การประสบอันตรายจากการทำงาน การระงับข้อพิพาท การประกันสังคม และสิทธิในการรวมกลุ่ม


          ผลการวิจัยพบว่ามาตรการทางกฎหมายในการคุ้มครองไรเดอร์ที่เหมาะสมที่สุด คือ การบัญญัติบทสันนิษฐานทางกฎหมายให้ไรเดอร์มีสถานะเป็นลูกจ้าง ให้ผู้ประกอบการแพลตฟอร์มมีสถานะเป็นนายจ้างและมีภาระในการพิสูจน์ เพื่อที่ไรเดอร์จะได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายแรงงานโดยเฉพาะฉบับที่สำคัญ ได้แก่ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ทั้งนี้ เพื่อคุ้มครองแรงงานแพลตฟอร์มซึ่งเป็นแรงงานส่วนสำคัญในสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นการทำงานที่มีคุณค่าที่ส่งผลถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืนในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศไทย

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

กองเศรษฐกิจการแรงงาน สำนักงานปลัดประทรวงแรงงาน. รายงานสถานการณ์ภาวะเศรษฐกิจการแรงงาน

ระหว่างประเทศและการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงแรงงาน, 2564.

เกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร และวรดุลย์ ตุลารักษ์. รูปแบบงานใหม่ของคนขี่มอเตอร์ไซต์ส่งอาหารที่กำกับโดย

แพลตฟอร์ม. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท ร่วมกับสถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม, 2563.

เกษมสันต์ วิลาวรรณ, คำอธิบายกฎหมายแรงงาน, พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2560.

______.คำอธิบายกฎหมายแรงงาน. พิมพ์ครั้งที่ 29. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2564.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 13825/2555.

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6067/2545.

ตรีเนตร สาระพงษ์. กฎหมายคุ้มครองแรงงาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัดพิมพ์อักษร,

ปภาศรี บัวสวรรค์. คำอธิบายกฎหมายแรงงานและการประกันสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2561.

ไผทชิต เอกจริยกร. คำอธิบายจ้างแรงงาน จ้างทำของ รับขน. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์

วิญญูชน, 2564.

พงษ์รัตน์ เครือกลิ่น. คำอธิบายกฎหมายแรงงานเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 10.

กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์นิติธรรม, 2560.

วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม. กฎหมายแรงงาน. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2562.

ศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์. คำอธิบายนิติกรรมสัญญา. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2559.

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. โครงการออกแบบระบบประกันสังคมที่รองรับการเปลี่ยนแปลงของ

รูปแบบการทำงานในอนาคต.กรุงเทพมหานคร: กองยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคม สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2564.

สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรม:

นัยของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีกับความเหลื่อมล้ำ-บทเรียนจากเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม.

กรุงเทพมหานคร:วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า, 2562.

สมจิตร์ ทองศรี.คำอธิบายกฎหมายประมวลแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยทรัพย์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร:

บริษัท ธนอรุณการพิมพ์ จำกัด, 2565.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.แนะฟู้ดเดลิเวอรี่ขับขี่ปลอดภัย ป้องกันอุบัติเหตุทางถนน[Online]. Available URL: https://www.thaihealth.or.th/Content/55090-%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%9F%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%20%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%99%E0%B8%99.html 2022 (January,30).

อรรคณัฐวันทนะสมบัติ และเกรียงศักดิ์ ธีระโกวิทขจร. แพลตฟอร์มอีโคโนมีและผลกระทบต่อแรงงานในภาคบริการ:กรณีศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท, 2561.

A.C.L., Davies. Perspective on Labour Law. Law in Context Series. 2nd ed. Cambridge: Cambridge University Press, 2009.

Ballotpedia. California Proposition 22, App-Based Driver as Contractors and Labor Policies Initiative (2020) [Online]. Available URL: https://ballotpedia.org/California_Proposition_22,_App-Based_Drivers_as_Contractors_and_Labor_Policies_Initiative_(2020), 2022, (April 5).

Bogg, Alan and others. The Autonomy of Labour Law. Oxford: Hart Publishing, 2014.

Chesalina, Olga. “Access to social security for digital platform workers in Germany and in Russia: a comparative study.” Spanish Labour Law and Employment Relations Journal 7, 1-2 (2018).

Collins, Huge, Ewing K.D and McColgan Aileen. Labour Law. Cambridge: Cambridge University Press, 2012.

Daniel Perez, Del Prado. “The legal Framework of Platform Work in Spain: The New Spanish “Riders’ Law.” Comparative Labor Law and Policy Journal (2021).

Davidov, Guy, and Langille Brian. The Ideal of Labour Law. Oxford: Oxford University Press, 2011.

Davidov, Guy. A Purposive Approach to Labour Law. Oxford: Oxford University Press, 2016.

______.“The Status of Uber Drivers: A Purposive Approach.” Spanish Labour Law and Employment Relations Journal (2017).

Defossez, Delphine. “The employment status of food delivery riders in Europe and the UK: Self- employed or worker?.” Maastricht Journal of European and Comparative Law 29, 1 (2021).

Deinert, Olaf and Freudenberg Christoph. “Platform work in Germany: How to improve working conditions and social protection?” European Commission (2020).

Department of the Senate, Commonwealth of Australia. First interim report: on-demand platform work in Australia. Canberra: Senate Printing Unit, 2021.

De Stefano, Valerio and Aloisi Antonio. Fundamental labour rights, platform work and human rights protection of non-standard workers. UK: Edward Elgar Publishing Ltd., 2019.

De Stefano, Valerio. The rise of the just-in-time workforce: On-demand work, crowdwork and

labour protection in the gig-economy. Geneva: International Labour Organization, 2016.

Economic Intelligence Center. อินไซด์ธุรกิจ Food delivery: เดินหน้าขยายตลาดพร้อมบริการที่หลากหลาย [Online]. Available URL: https://www.scbeic.com/th/detail/file/product/7906/

g3uws6soy7/EIC_Note_Food-delivery_20211102.pdf, 2022 (March, 30).

Eurofound. Exploring self-employment in the European Union. Luxemburg: Office of the European Union, 2017.

Harris, Seth D. and Krueger Alan. A Proposal for Modernizing Labour Laws for Twenty-First-

Century Work: The “Independent Worker”. The Hamilton Project, 2015.

Humbert, Franziska. The Challenge of Child Labour in International Law. Cambridge: Cambridge

University Press, 2009.

International Labour Organization. ILO Flagship Report: The role of digital labour platforms in transforming the world of work. Geneva: International Labour Organization, 2021.

National Conference of State Legislatures (NCSL). Worker Misclassification [Online]. Available URL: https://www.ncsl.org/research/labor-and-employment/employee-misclassification-resources.aspx, 2022 (March, 1).

Pablo Mugnolo, Juan, Caparros Lucus and Golcman Martin. Legal analysis of labour relations in delivery services through digital platforms in Argentina. Argentina: ILO Country Office

for Argentina, 2020.

Robinhood. ข้อกำหนดเงื่อนไขและข้อบังคับในการเป็นคนขับโรบินฮู้ด [Online]. Available URL: https://www.robinhood.in.th/rider/rider-condition, 2022 (April, 20).

Schoukens, Paul, Barrio Alberto and Montebovi Saskia. “The EU social pillar: An answer to the challenge of the social protection of platform workers?.” European Journal of Social Security (2018).

SDG MOVE. WHO เผยรายงาน “ไทย” เสียชีวิตบนท้องถนนสูงสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้มีกฎหมาย จราจรในเกณฑ์ดี [Online]. Available URL: https://www.sdgmove.com/2021/02/10/who- global-sttus-report-on-road-safety-2018/2022, (April, 20).

Smith, Adam. An Inquiry into the Nature and Causes of The Wealth of Nations, 1970 ed. Harmondsworth: Penguin, 1776.

Social Europe. Platforms put a spoke in the wheel of Spain’s ‘riders’ law’ [Online]. Available URL: https://socialeurope.eu/platforms-put-a-spoke-in-the-wheels-of-spains-riders-law, 2022 (March, 30).

World Economic Forum. Charter of Principles for Good Platform Work [Online].

Available URL: https://www3.weforum.org/docs/WEF_Charter_of_Principles_for_Good_Platform_Wo rk.pdf., 2022 (March, 10).

The State of Victoria. Report of the Inquiry into the Victorian On-Demand Workforce.

Melbourne: Minister for Industrial Relation, 2020.

Timko, Peter and Van Melik Rianne. “Being a Deliveroo Rider: Practices of Platform Labor in Nijmegen and Berlin.” Journal of Contemporary Ethnography 50, 4 (2021).

Todoli-Signes, Adrian. “The end of the subordinate workers?: Collaborative economy, on- demand economy, Gig economy, and the crowdworkers’ need for protection.” International Journal of Comparative Labour law and Industrial Relations 33, 2 (2017).

______. “Spanish riders. Law and the right to be informed about the algorithm.” European Labour Law Journal 1, 4 (2021).

Toronjo Pivateau, Griffin. Rethinking the Worker Classification Test:Employees, Entrepreneurship, and Empowerment. SSRN Electronic Journal, 2013.

United States Government Accountability Office. Employee Misclassification: Improve Coordination, Outreach, and Targeting Could Better Ensure Detection and Prevention [Online]. Available URL: https://www.gao.gov/assets/gao-09-717.pdf, 2021 (December, 5)

U.S. Department of Labor. Misclassification of Employee as Independent Contractor [Online]. Available URL: https://www.dol.gov/agencies/whd/flsa/misclassification, 2022 (April, 23).

Veen, Alex, Barratt Tom and Goods Caleb. “Platform-Capital’s ‘App-etite’ for control: A Labour Process Analysis of Food-delivery Work in Australia.” Work Employment and Society 34, 3 (2020).

Waeyaert, Willem, Lenaerts Karolien and Gillis Dirk. “SPAIN: the ‘Riders’ Law’, New Regulation on Digital Platform Work.” European Agency for Safety and Health at Work (2022).