หลักป้องกันสังคมในมาตรการไม่ควบคุมตัว
Main Article Content
Abstract
มาตรการไม่ควบคุมตัว (non-custodial measures) เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงจากการประกอบอาชญากรรมขึ้น เนื่องจากเมื่อผู้กระทำความผิดไม่ต้องถูกคุมขัง ผู้กระทำความผิดย่อมมีโอกาส (มากยิ่งขึ้น) ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น ๆ ในสังคม ตลอดจนมีโอกาส (มากยิ่งขึ้น) ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ความสงบเรียบร้อยของสังคม โดยการที่ผู้กระทำความผิดได้กระทำความผิดซ้ำ (recidivism) ดังนั้น มาตรการไม่ควบคุมตัวจึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องเข้ามามีบทบาทสำคัญในการสร้างความปลอดภัยแก่สังคม (public safety) จากการประกอบอาชญากรรมตามหลักป้องกันสังคม (social protection principle) บทความนี้ได้ทำการค้นคว้าเพื่อหาข้อมูล 1) แนวคิดเกี่ยวกับหลักป้องกันสังคม 2) หลักป้องกันสังคมในมาตรการไม่ควบคุมตัวตามมาตรฐานระหว่างประเทศ และ 3) หลักป้องกันสังคมในมาตรการไม่ควบคุมตัวตามกฎหมายไทย โดยได้ดำเนินการค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (documentary research)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1 เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรุงสยาม พับลิชชิ่ง, 2562.
คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ. รายงาน เรื่อง การพัฒนามาตรการต่อผู้กระทำผิดอาญาแทนการควบคุมตัว (Non - custodial Measures) โดยการมีส่วนร่วมขององค์กรสหวิชาชีพและชุมชน. สำนักกรรมาธิการ 2 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ วันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2560.
เชษฐา พวงหัตถ์. “สภาวะสมัยใหม่และความเสี่ยง: มุมมองทางสังคมวิทยา.” วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 12, 1 (มิถุนายน 2559): 16-35.
ณรงค์ ใจหาญ. กฎหมายอาญาว่าด้วยโทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2543.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ และรณกรณ์ บุญมี. คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 22. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2564.
ปกรณ์ มณีปกรณ์. อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เอ็ม ที เพรส, 2553.
ปรียาพร ศรีมงคล และรณกรณ์ บุญมี. สรุปโดย เพลินตา ตันรังสรรค์. “พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในการพระราชทานอภัยโทษ.” วารสารจุลนิติ 6, 5 (ตุลาคม 2552): 68-71.
ฝ่ายค้นคว้าและเปรียบเทียบกฎหมาย กองกฎหมายต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. แนวนโยบายและกฎหมายเกี่ยวกับสกุลเงินดิจิทัล [Online]. Available URL: https://lawforasean.krisdika.go.th/File/files/Digital%20Currency.pdf, 2565 (เมษายน, 17).
ศิริ ปะทะขีนัง. “การอภัยโทษ : ศึกษาปัญหาทางกฎหมายในการอภัยโทษ.” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2550.
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย. ความยุติธรรมสมัครสมาน : แนวทางของประเทศไทยเพื่อนำไปสู่ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย, 2564.
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย. คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ คู่มือว่าด้วยกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่สอง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย, 2564.
สมสุข หินวิมาน. “การสื่อสารกับสังคมแห่งความเสี่ยง.” วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 5, 1 (มิถุนายน 2553): 37.
สำนักงานราชบัณฑิตยสถา. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 [Online]. Available URL: https://dictionary.orst.go.th, 2565 (เมษายน, 5).
อริยพร โพธิใส. “การหลบหนีเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายกับการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด 19.” วารสารจุลนิติ 18, 1 (กุมภาพันธ์ 2564): 117-125.
_______. “หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขอพระราชทานอภัยโทษ.” วารสารจุลนิติ 6, 6 (ธันวาคม 2552): 143.
อัจฉรียา ชูตินันทน์. อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2561.
อัณณพ ชูบำรุง และอุนิษา เลิศโตมรสกุล. อาชญากรรมและอาชญาวิทยา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
Ashworth, Andrew and Zedner, Lucia. Preventive Justice. Oxford: Oxford University Press, 2014.
Beck, Ulrich. Risk Society: Towards a New Modernity. London: Sage, 1992.
_______. World Risk Society. New York: Polity Press, 1999.
Cole, David. “The Difference Prevention Makes: Regulating Preventive Justice.” Criminal Law and Philosophy 9, 3 (September 2015): 501-519.
Garland, David. The Culture of Control: Crime and Social Order in Contemporary Society. Oxford: Oxford University Press, 2001.
Giddens, Anthony. “Risk and Responsibility.” Modern Law Review 62, 1 (January 1999): 1-10.
_______. Modernity and Self-Identity: Self and Society in the Late Modern Age. Stanford: Stanford University Press, 1991.
_______. The Consequences of Modernity. Cambridge: Polity Press, 1990.
Hogg, Russel. “Crime Control in Late Modernity - David Garland’s The Culture of Control: Crime and Social Order in Contemporary Society, 2001, Oxford University Press.” Current Issues in Criminal Justice 14, 2 (November 2002): 225.
Keiler, Johannes and David Roef. “Principles of Criminalisation and the Limits of Criminal Law.” in Comparative Concepts of Criminal Law. Edited by Johannes Keiler and David Roef. 3rd ed. Cambridge: Intersentia, 2019.
Lupton, Deborah. Risk. London: Routledge, 1999.
Nova Bizz. กระบวนทัศน์ [Online]. Available URL: https://www.novabizz.com/NovaAce/
Paradigm.htm, 2565 (มิถุนายน, 11).
Peeters, Rik. The Preventive Gaze: How Prevention Transforms Our Understanding of the State. Hague: Eleven International Publishing, 2013.
Penal Reform International. International Standards [Online]. Available URL: https://www.penalreform.org/issues/alternatives-to-imprisonment/international-standards/, 2022 (August, 3).
Rosa, Eugene A. “Metatheoretical Foundations for Post-normal Risk.” Journal of Risk Research 1, 1 (January 1998): 15-44.
Thailand Institute of Justice (TIJ). TIJ เตรียมการเข้าร่วมการประชุม CCPCJ สมัยที่ 28 [Online]. Available URL: https://www.tijthailand.org/th/highlight/detail/223, 2565 (สิงหาคม, 8).
United Nations Economic and Social Council. 2002 Resolutions: Basic principles on the use of restorative justice programmes in criminal matters [Online]. Available URL: https://www.un.org/ecosoc/sites/www.un.org.ecosoc/files/documents/2002/resolution-2002-12.pdf, 2022 (August, 15).
_______. 2017 Resolutions: Promoting and encouraging the implementation of alternatives to imprisonment as part of comprehensive crime prevention and criminal justice policies [Online]. Available URL: https://www.un.org/ga/search/view_doc.asp?symbol=E/RES/2017/19, 2022 (August, 9).
_______. Commission on Crime Prevention and Criminal Justice: Report on the Twenty-sixth Session (2 December 2016 and 22-26 May 2017).
United Nations Office on Drugs and Crime. Compendium of United Nations Standards and Norms in Crime Prevention and Criminal Justice.
United Nations Office on Drugs and Crime. Handbook on Restorative Justice Programmes, Second Edition. Vienna: United Nations, 2020.