ยุติธรรมชุมชน: เปลี่ยนความขัดแย้งสู่การสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง

Main Article Content

นงลักษณ์ ยอดมงคล

Abstract

           บทความนี้นำเสนอการถอดบทเรียนประสบการณ์การดำเนินงานของพื้นที่14 ชุมชนกรณีศึกษา ที่มีประสบการณ์นำกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และยุติธรรมชุมชนไปใช้ในการจัดการความขัดแย้งในชุมชนได้สำเร็จ รวมทั้งสามารถฟื้นฟูความสัมพันธ์ให้ชุมชนรักษาความเป็นชุมชนและอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ นอกจากความรู้จากบทเรียนวิธีการและกลไกการแก้ไขความขัดแย้งของพื้นที่แล้ว ได้แสดงการนำไปสู่การจัดโครงสร้างความสัมพันธ์ภายในชุมชนแบบใหม่ในลักษณะการจัดโครงสร้างความสัมพันธ์ภายในชุมชนแบบใหม่หรือชุดใหม่ กลไกความร่วมมือในการจัดการความขัดแย้งมีองค์ประกอบของแกนนำที่เป็นสมาชิกชุมชนร่วมกับตัวแทนของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ผู้นำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักพัฒนาเอกชน ซึ่งมีความสำคัญของการจัดความสัมพันธ์ภายในชุมชนแบบใหม่ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง และดึงให้สมาชิกในชุมชนช่วยกันสานฟื้นฟูความร่วมมือความสัมพันธ์ในด้านต่างๆที่นอกจากผลในการร่วมหาทางออกของความขัดแย้งแล้วยังเป็นกระบวนการยกระดับสู่ความเข้มแข็งของชุมชนซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมก้าวสู่สังคมสุขภาวะของพื้นที่นั้นได้

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

กิตติพงษ์ กิตยารักษ์. “การพัฒนาระบบยุติธรรมชุมชนในไทย.”ใน ยุติธรรมชุมชน: บทบาทการอำนวยความยุติธรรมโดยชุมชนเพื่อชุมชน. หน้า 22. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย, 2550.

_______. “ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์หลักการและแนวคิด.” ในเอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องยุติธรรมชุมชน.....หนทางสู่สังคมแห่งความเป็นธรรม. หน้า 86-87. กรุงเทพมหานคร:กระทรวงยุติธรรมและโครงการพัฒนาระบบกฎหมาย, 2550.

กระทรวงยุติธรรม.ภารกิจกระทรวงยุติธรรม[Online]. Available URL:https://www.moj.go.th/view/

, 2565(พฤษภาคม, 26).

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย และคณะ.การพัฒนากรอบแนวทางการวิจัยชุดโครงการกระบวนการยุติธรรมทางเลือกในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม, 2553.

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย.“ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในศาลเยาวชนและครอบครัว: ก้าวสำคัญสู่การปฏิรูประบบยุติธรรมสำหรับเด็กและเยาวชนไทย.”ใน เอกสารประกอบการเสวนาทางวิชาการการนำหลักความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) มาใช้ในศาลเยาวชนและครอบครัว. หน้า 3.กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ, 2549.

_______. ระบบยุติธรรมและยุติธรรมทางเลือกแนวการวิเคราะห์เชิงสังคมศาสตร์. หน้า 226. ม.ป.ท.: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.

ชญานันทน์ ล้อมณีนพรัตน์. “ยุติธรรมชุมชน: ศึกษากรณีการแก้ไขความขัดแย้งทางอาญาด้วยวิธีการเชิงสมานฉันท์ในระดับชุมชน.”วิทยานิพธ์ปริญญานิติศาสตร์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.

บุญตา ส.ผาบมีชัย. “กระบวนการว่าด้วยการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท: ศึกษาเปรียบเทียบตามกฎหมายไทยและสาธารณะประชาธิปไตยประชาชนลาว.”วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.

สถาบันอนุญาโตตุลาการ. การอนุญาโตตุลาการคืออะไร?[Online]. Available URL:https://thac.or.th/th/, 2565 (มีนาคม, 1).

สถาบันอนุญาโตตุลาการ. Negotiation คืออะไร? มารู้จักกับคำนี้อย่างลึกซึ้งก่อนทำการระงับข้อพิพาททางเลือก[Online]. Available URL:https://thac.or.th/th/, 2565 (มิถุนายน, 7).

อรัชมน พิเชฐวรกุล.การระงับข้อพิพาททางเลือก[Online]. Available URL:https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/122222, 2565(มิถุนายน, 7).

Bargen, Jenny. Kids, Cops, Courts, Conferencing and Children's Rights — A Note on Perspectives [Online]. Available URL: https://doi.org/10.1080/1323238X.1996.11910956, 2022 (June, 22).

Bazemore, Gordon. Mara Schiff. Restorative Community Justice: Repairing Harm and Transforming Community. Cincinnati: Anderson Publishing, 2001.

Clear, Todd R. Community Justice.2nd ed. New York: Routledge, 2011.

Congress of the Philippines. An Act Providing for a Local Government Code of 1991 [Online]. Available URL: http://www.lawphil.net/statutes /repacts/ra1991/ra_7160_1991.html, 2022 (January, 11).

Cunneen, Chris. “Community conferencing and the fiction of indigenous control.” Australian and New Zealand Journal of Criminology 30, 3 (December 1997): 292-311.

Daly, Kathleen and Russ Immarigeon. “The past, present, and future of restorative justice: some critical reflections.” The Contemporary Justice Review1,1 (1998): 21-45.

Daly, K. SAJJ. Technical report no. 2: Research instruments in Year 2 (1999) and background notes. Brisbane: School of Criminology and Criminal Justice, Griffith University, 2001.

Glubwila, Sorat and others. “Community justice as a conflict management mechanism in Thailand, Indonesia, the Philippines, and Myanmar.” Kasetsart Journal of Social Sciences42, 3(July-September 2021): 688–693.

Golub, Stephen. Non-state Justice Systems in Bangladesh and the Philippines[Online]. Available URL: http://www.siteresources.worldbank.org/INTJUSFORPOOR/.../GolubNonStateJusticeSystems.pdf, 2002 (January, 11).

Lanni, Adriaan. The Future of Community Justice. Harvard Civil Rights-Civil Liberties Law Review40 (2005): 359-465.