อิทธิพลของ การผูกพันต่อเป้าหมาย การแสวงหาความรู้ และการสื่อสาร ต่อความผูกพันในองค์การ : แนวคิดของตัวเองในตัวแทนขายตรงในฐานะตัวแปรคั่นกลาง
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการผูกพันต่อเป้าหมาย การแสวงหาความรู้ และการสื่อสาร (2) ศึกษาการยอมรับความสามารถของตนเอง การรับรู้คุณค่าในตนเอง และ (3) ศึกษาปัจจัยการผูกพันต่อเป้าหมาย การแสวงหาความรู้ และการสื่อสารที่ส่งผ่าน ปัจจัยการยอมรับความสามารถของตนเอง การรับรู้คุณค่าในตนเอง ไปสู่ความผูกพันต่อองค์การ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ตัวแทนจำหน่ายอิสระของธุรกิจขายตรงแบบหลายชั้นขนาดใหญ่โดยอาศัยอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 420 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ด้วยเทคนิควิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมีค่าดัชนีความกลมกลืนทั้งสองแบบอยู่ในระดับที่ดี เป็นตัวแบบที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
Article Details
1. กองบรรณาธิการสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร
2. บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ แต่ข้อความและเนื้อหาในบทความที่ตีพิมพ์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว มิใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยศรีปทุม
3.การคัดลอกอ้างอิงต้องดำเนินการตามการปฏิบัติในหมู่นักวิชาการโดยทั่วไป และสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
References
Bandura, A. 1997. “Self-efficacy and health behaviour.” In A. Baum, S. Newman, J. Wienman, R. West, & C. McManus (Eds.), Cambridge handbook of psychology, health and medicine. Cambridge University Press.160-162.
Beverly, J. I., Genevieve, B.,Duffy, J.A., and Trautman, D. 2002. “Diane.” Journal of Educational Administration, 40(4/5), 304.
Chourouk, M. 2014. "Reshaping the Village Test for investigating service brand attachment", Qualitative Market Research: AnInternational Journal, 17(4), 393 – 409.
Donald, G. G., and Jon, L. P. 2013. "Focus of attention at work and organization-based self-esteem," Journal of Managerial Psychology. 28(2), 110 – 132.
Emerson, R.M.1976. Social Exchange Theory. Annual Review Inc. Retrieved July 2, 2013.
House, R, J., and Mitchell, T. R. 1974. “Path-Goal Theory of Leadership.” Contemporary Business, 3, 81- 98.
Isabel, D.W. and Rechberg, J.S. 2014. "Appropriation or participation of the individual in knowledge management", Management Decision, 52(3), 426 – 445.
Kandlosi, N.S.E., Ali, A.J. and Abdollahi, A. 2010. “Organizational citizenship behavior inconvern of communication satisfaction” International Journal of Business and Management, 5(10), 51-61.
Keith, A.C., Nicole, M. and Jeylan, T. M. 2009. "Adolescent work experience and self-efficacy", International Journal of Sociology and Social Policy, 29(3/4),164 – 175.
Olivia, F.L., James, A.T., Rajeshekhar,J. 2010. "Goal orientation and organizational commitment" International Journal of Organizational Analysis, 18(1), 129 –150.
Sias, P.M. 2005. “Workplace relationships quality and employee information experience”, Communication Studies, 56(4), 375–395.
Sutapa, D., Kim Leng, P., and Michael, Y.L.C. 2009. "Standardizing FM knowledge acquisition when information is inadequate",Facilities, 27(7/8), 315 – 330.
Tanja, B., and Kleingeld, A. 2011. "Goal-setting in practice", Personnel Review, 40(3), 306 – 32