การศึกษาประเด็นที่ได้เรียนรู้และเปลี่ยนแปลงสำหรับการจัดการเรียนรู้ของครูผู้ร่วมศึกษาชั้นเรียน ในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และ คณิตศาสตร์โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อทำความเข้าใจประเด็นที่ได้เรียนรู้และเปลี่ยนแปลงสำหรับการจัดการเรียนรู้ ในกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และ คณิตศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย คือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และ คณิตศาสตร์ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 เก็บรวบรวมข้อมูลทำโดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการอภิปรายกลุ่มร่วมกับครูผู้ร่วมสังเกตการณ์จัดการเรียนการสอน จำนวน 15 คน แผนที่นำมาใช้ในการศึกษา จำนวน 5 แผน การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการตีความจากการสังเกตชั้นเรียน และการสะท้อนผลในชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และ คณิตศาสตร์ เพื่อสรุปประเด็นสำคัญของความเข้าใจประเด็นที่ได้เรียนรู้และเปลี่ยนแปลงสำหรับการจัดการเรียนรู้ ในกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผลการศึกษาพบว่า ประเด็นที่ได้เรียนรู้และเปลี่ยนแปลงสำหรับการจัดการเรียนรู้ ในกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และ คณิตศาสตร์ มี 3 ประเด็น ได้แก่ 1) สิ่งที่ครูผู้สอนและทีมผู้พัฒนาแผนทำได้ดี 2) สิ่งที่ครูผู้สอนและทีมผู้พัฒนาแผนควรปรับปรุง/เพิ่มเติม 3) แนวทางการพัฒนาแผนเพื่อเพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน
Article Details
References
ปองทิพย์ เทพอารีย์. (2557). การพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพสำหรับครูประถมศึกษา. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 6(2), 284-296.
มินตรา ลายสนิทเสรีกุลและปิยพงษ์ สุเมตติกุล. (2557). กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนสู่การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพของโรงเรียนมัธยมศึกษาในสหวิทยาเขตเบญจบูรพา กรุงเทพมหานคร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9(3).
วรลักษณ์ ชูกำเนิดและและเอกรินทร์ สังข์ทอง. (2557). โรงเรียนแห่งชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูเพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูที่เน้นผู้เรียนเป็นหัวใจสำคัญ. วารสารวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 25(1), 93-102.
วิจารณ์ พานิช. (2554). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21.พิมพ์ครั้ง 1. กรุงเทพฯ:ตถาตาพลับลิเคชั่นจำกัด.
. (2555).วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี สฤษดิ์วงศ์.
Darling-Hammond, L. (1999). Teacher Quality and Student Achievement: A Review of State Policy Evidence. Seattle, WA: Center for the Study of Teaching and Policy, University of Washington.
Hord, S. M. (1997). Professional Learning Communities: Communities of Continuous Inquiry and Improvement. Texas: Southwest Educational Development Laboratory.
. (2004). Professional Learning Communities: An Overview. In S. Hord (ed), Learning Together, Leading Together: Changing Schools Through Professional Learning Communities. New York: Teachers College Press.
Stoll, L., & Louis, K. S. (2007). Professional Learning Communities: Elaborating New Approaches. Professional Learning Communities: Divergence, Depth and Dilemmas, 1-13.
Darling-Hammond, L. (1999). Teacher Quality and Student Achievement: A Review of State Policy Evidence. Seattle, WA: Center for the Study of Teaching and Policy, University of Washington.
กรมวิชาการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ)..
กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: องคก์ารรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์(ร.ส.พ)..
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่ง สินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ)..
มินตรา ลายสนิทเสรีกุล.(2557). กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนสู่การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพของโรงเรียนมัธยมศึกษาในสหวิทยาเขตเบญจบูรพา กรุงเทพมหานคร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 12(2), 292-406
วิจารณ์ พานิช. (2553). Learning by doing. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล,
วิจารณ์ พานิช. (2555). การเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557).นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558. ม.ป.ท.
Brown, W. and D. Moberg.(1980). Organization Theory and Management: A Macroapproach. New York: John Wiley & Sons, Inc
Dufour, G. and others. (2010). IASI Observations of Seasonal and day-to-day variations of tropospheric ozone over three highly populated areas of China: Beijing, Shanghai, and Hong Kong. Atmos. Chem. Phys, 10, 3787-3801
DuFour, R. and Eaker, R. (1998). Professional Communities at work: Best practice for Enhancing Student Achievement. Bloomington IN: Solution Tree.
DuFour, R., & DuFour, R. (2012). The school leader’s guide to professional
DuFour, R., & DuFour, R. (2012). The school leader’s guide to professional learning communities at work. Bloomington, IN: Solution Free Press.
Hord, S. M. (2010). Professional Learning Communities: Communities of Continuous Inquiry and Improvement [Internet]. Southwest Educational Development Laboratory.
Thana, A., Kulpatsorn, S., and Yuenyong, C. (2018). Building up STEM education professional learning community in school setting: Case of Khon Kaen Wittayayon School. AIP Conference Proceedings. 1923, 030067-1 – 030067-6. (https://doi.org/10.1063/1.5019558)
Yuenyong, C. (2019). Lesson learned of building up community of practice for STEM education in Thailand. AIP Conference Proceedings. 2081, 020002-1 – 020002-6. (View online: https://doi.org/10.1063/1.5093997)