การพัฒนารูปแบบการนิเทศด้วยชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของครูระดับประถมศึกษา โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครขอนแก่น

Main Article Content

มณีรัตน์ เย็นสวัสดิ์

บทคัดย่อ

วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศด้วยชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของครูระดับประถมศึกษา โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครขอนแก่น การดำเนินการวิจัยและพัฒนา (R&D) แบ่งเป็น 4 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบและพัฒนารูปแบบการนิเทศ (ร่าง) ขั้นตอนที่ 3 ขั้นทดลองใช้รูปแบบเพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบ ขั้นตอนที่ 4 การประเมินและปรับปรุงรูปแบบการนิเทศ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงแบนมาตรฐาน (S.D.) ใช้สถิติทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent Sample t-test และค่าที (t-test) แบบ One Sample t-test ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการนิเทศด้วยชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ของครูระดับประถมศึกษา โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครขอนแก่นที่พัฒนาขึ้นมี 5 องค์ประกอบ 2) ผลการใช้รูปแบบการนิเทศ มีดังนี้ 2.1) ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) หลังนิเทศสูงกว่าก่อนนิเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2) ความสามารถด้านการเขียนแผนการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) อยู่ในระดับมากที่สุด และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.3) ความสามารถด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) อยู่ในระดับมากที่สุด และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.4) ความสามารถด้านการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) อยู่ในระดับมากที่สุด และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.5) หลังการใช้รูปแบบการนิเทศครูมีคุณลักษณะความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ครูระดับประถมศึกษามีความพึงพอใจต่อรูปแบบการนิเทศด้วยชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก อยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กนกนุช ชื่นเลิศสกุล. (2544). การเรียนรู้โดยผ่านการสะท้อนคิดะการศึกษาและการปฏิบัติการพยาบาลในคลินิก, วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 9(2), 35-48.

คัมภีร์ สุดแท้. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. กรุงเทพฯ ฆนัท ธาตุทอง. (2555). สบายตาโมเดล รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะทางปัญญา. กรุงเทพฯ : เพชรเกษม,

ชัยธร สิมาภรณ์วนิชย์. (2560). งานเสวนา MU Thalk “ผ่าทางตันการศึกษา Active Learning พาไทย สู่ยุค 4.0. สืบค้น 26 มีนาคม 2562.จาก http://www.prvariety.net/active learning-ทางออกการศึกษาไทย-4-0/.

ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ์. (2559). การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ประเทศไทยกับการก้าวไกลการศึกษา” ในการประชุมวิชาการเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาคกลางเพื่อการพัฒนาบัณฑิต อุดมศึกษาประจำปี 2559 เมื่อวันศุกร์ที่ 19 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมมงกุฎเกล้าเวช ในโอกาสครบรอบ 53 ปี. สืบค้น 30 เมษายน 2563 จาก http://www.thaigov.go.th/ index.php /th/news-ministry/2012-08-15-09-39-20/item/106301.

ถวัลย์ วงษ์สวรรค์. (2560), ต่างมุม หลากความคิด ผ่านประสบการณ์ สู่หนึ่งความสำเร็จ. สืบค้น 18 มีนาคม 2563 จากhttp://btvweb.boonthavorn.com/news/display.

เทพพนม เมืองแมน และ สวิง สุวรรณ. (2540). พฤติกรรมองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

ธนิตชากร ปิตาระโพธิ์. (2556). จิตสาธารณะ : รูปแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ.

ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน์. (2531). การบริหารงานบุคลากรทางการศึกษา. สงขลา : มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา.

นพพรพรรณ ญาณโกมุท. (2558). การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการศึกษาชั้นเรียนสำหรับโรงเรียนเอกชนนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการศึกษาและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

นิพัทธ์ กานตอัมพร, (2556). เอกสารประกอบการบรรยายการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาทีมเรียนรู้และการสรุปบทเรียนจากการเรียนรู้ (After Action Review for Team Learning). กรุงเทพฯ : กรมชลประทาน.

นวลจิตต์ เชาวกรีติพงศ์. (2559). คิดสร้างสรรค์ : สอนและสร้างได้อย่างไร. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

เนาวรัตน์ พลายน้อย, (2554). การวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ในการถอดบทเรียนด้วยเครื่องมือการวิเคราะห์หลังการปฏิบัติ (After Action Review). กรุงเทพฯ : คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2554). กลยุทธ์การสอนตามกรอบมาตรฐานระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2556). ปรัชญาการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). คิดเพื่อครู. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). ศาสตร์การคิด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพลิน สุมังคละ. (2559). การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในด้านการจัดการเรียนการสอน สำหรับครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3. มหาสารคาม, วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มนัส บุญประกอบ และคนอื่นๆ. (2544). การวิจัยและพัฒนาเทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวยกระดับคุณภาพการวิทยาศาสตร์ศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร. (2560). Active Learning ทางออกการศึกษาไทยยุค 4.0. สืบค้น 18 มีนาคม 2563 จาก http://www.prvariety.net/active-learning-ทางออกการศึกษาไทย4-0/.

ยนต์ ชุมจิตร. (2550). ความเป็นครู. กรุงเทพฯ : โอ เอสพริ้นเตอร์เฮาส์,

ยอดอนงค์ จอมหงษ์พิพัฒน์. (2553). การพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาครูผู้นำการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ ค.ด. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ยืน ภู่วรวรรณ. (2557). บทบาทของครูในยุคดิจิตอล. สืบค้น 16 ธันวาคม 2562 จาก https://www. facebook.com/people/ยืน-ภู่วรวรรณ/1162233576

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2548). การพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.

วรรณพร สุขอนันต์. (2550). รูปแบบการนิเทศภายในสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ. (2547). รูปแบบการพัฒนานักเรียนระดับประถมศึกษาให้มีจิตสาธารณะ : การศึกษาระยะยาว. ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ เนื่องในวันสถาปนาสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ครบรอบ 49 ปี. หน้า 1-3.

วนิช สุธารัตน์. (2547). ความคิดและความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

วรางคณา จันทร์คง. (2557). ถอดบทเรียน 1. จุลสารวารสาขาวิทยาศาสตร์ออนไลน์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ฉบับที่ 1 ปี 2557 สืบค้น 24 กุมภาพันธ์ 2563 จาก www.stou.ac.th/Schools/Shs/booklet/book571/rsearch571.pdf.

วรลักษณ์ ชูกําเนิด และเอกรินทร์ สังข์ทอง. (2557). “โรงเรียนแห่งชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูเพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 ; มกราคม-เมษายน.

วิจารณ์ พานิช (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ตถาตาพับลิเคชั่น จํากัด.

วิชัย เสวกงาม. (2557). เอกสารบรรยายเรื่อง Active learning : What, Why and How?. ณ หอกิ่งทอง โรงแรมเอเชีย กรุงเทพมหานคร, กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 11 กันยายน 2557.

วิลัดดา เรืองเจริญ. (2558). รูปแบบการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วีระ สุดสังข์. (2550). การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. ศุภวัลย์ พลายน้อย. (2551). นานาวิธีวิทยาการถอดบทเรียนและการสังเคราะห์ความรู้. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสยามกัมมาจลธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน).

ศุภวัลย์ พลายน้อย และเนาวรัตน์ พลายน้อย. (2552). รายงานการวิจัยการถอดบทเรียนและสังเคราะห์องค์ความรู้ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การเข้าถึงและการให้บริการทางข้อมูลข่าวสาร การให้คำปรึกษา และบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์. สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย.

สุนันทา เลาหนันทน์. (2556). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร.ห้างหุ้นส่วนจํากัดธนะการพิมพ์. สงัด อุทรานันท์. (2530). การนิเทศการศึกษา หลักการ ทฤษฎี และปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2 : กรุงเทพฯ โรงพิมพ์มิตรสยาม.

สุมน อมรวิวัฒน์, (2558). การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: เทคนิคพริ้นติ้ง.

สุวิภา จรุงเกียรติกุล. (2558). ปรัชญาและมโนทัศน์สังคมแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กลุ่มพัฒนากระบวนการเรียนรู้. (2553). แนวทางการ ออกแบบการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรประเทศไทย จํากัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีการพิมพ์.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.. (2552). รายงานการวิจัยเรื่องสภาพปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจํากัดวี.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.

อุดม พัวสกุล. (2552). คู่มือ AAR การทบทวนหลังปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ: กรมโยธาธิการและผังเมือง.

อารี พันธ์มณี. (2554). ฝึกให้คิดเป็นคิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ใยไหม เอดดูเคท.

Adams Harold,p., and Dickey,Frank G. (1953). Basic Priciples of Supervision. New York : American Book Company.

Annenberg Institute for School Reform. (2013). Professional Learning Communities : Professional Development Strategies That Improve Instruction. [Online]. Available from: http://www.annenberginstitute.org/pdf/proflearning.pdf.

Bonwell, C.C., and Eison, J.A. (1991). Active Learning : Creating Excitement in the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Report No. 1. Washington, D.C.: The George Washington University, School of Education and Human Development.

Briggs, Thomas H., and Justman, Joseph. (1952). Supervision ; A Social Process. 3 rd ed. New York : Mcamillan Co.

Bulkley, K. E., & Hicks, J. (2005). Managing community: Professional community in charter schools operated by educational management organizations. Educational Administration Quarterly, 41(2), 306-348.

Christou, C.; et al. (2007). Developing an Active Learning Environment for the Learning of Stereometry. International Conference on Technology and Mathematics Teaching (ICTMT8).

Eisbree, Willards., et al. (1967). Elementary School Administration and Supervision. 3 rd. ed. New York ; American Book Co.

Fullan, M. (1999). Change Forces : The Sequel. London. Falmer Press.

Hord, S.M. (1997). Professional learning communities : Communities of inquiry and improvement. Austin : Southwest Educational Development Laboratory.

Hoy, W.K., and Miskel,C.G., (2001). Educational Administration : Theory, Research, and Practice. New York : McGraw-Hill. Hord.

Hradec Kralove, Czech Republic. Dufour, R. (2007). Professional Learning Communities : A Bandwagon, an Idea Worth Considering, or Our Best Hope for High Levels of Learning?. Middle School Journal (J1), 39(1), 4-8.

Kagan, S. (1995). Cooperative Learning & Wee Science. San Clemento : Kagan Cooperative Learning.

Luis, K. S., & Kruse, S. D. (1995). Professional and community: Perspectives on reforming urban schools. Thousand Oaks, CA: Corwin Press.

Martin M. (2011). Professional Learning Communities. In Contemporary Issues in Learning and Teaching. pp.142-152. London: SAGE Publications Ltd.

McLaughlin, M. W., & Talbert, J. E. (2006). Building school-based teacher learning Communities : Professional strategies to improve student achievement (Vol. 45). Teachers College Press.

Meyers, Chet and Jones, Thomas B. (1993). Promoting Active Learning: Strategies for the Collage Classroom. San Francisco: Jossey-Bass.

Murphy, C.U. & Dale, W.L. (2005). Whole - Faculty Study Groups: creating Professional Learning Communities That Target Student Learning. 3rd edition. California : Corwin Press. Organization Doubleday. New York NY : MCB UP Ltd.

Oliva, Peer F. (1989). Supervision for Today's School. 3 rd ed. New York: Longman Ubben, G.C.; Hughes, L.W.; and Norris, C. J., (2001). The Principal ; Creative Leadership for Effective School. 4 ed., Boston : Allyn & Bacon.

Padwad, A., & Dixit, K. K. (2008). Impact of Professional Learning Community Participation on Teachers' Thinking about Classroom Problems. Tesl-Ej, 12(3), n3.PROCESS (www.armystudyguide.com/.../the-after-action-review-p).

S.M., Roussin, J. L., & Sommers, W. A. (2009). Guiding professional learning communities : Inspiration, challenge, surprise, and meaning. Corwin Press.

Senge, P. M. (1990). The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning.

Sergiovanni, T. (1994). Building community in schools. San Francisco, CA : Jossey Bass.

Sergiovanni, T. (1998). International Journal of Leadership in Education. Vol.1 No.1, P. 37. Seashore, K.R., Anderson, A.R. & Riedel, E. (2003). Implementing arts for Academic Achievement : The impact of mental models, professional community and interdisciplinary teaming. Paper presented at the 17th Conference of the International Congress for School Effectiveness and Improvement, Rotterdam, January.

Silberman, Mervin L. (1996). Active Learning : 101 strategies to teach any subject. USA : Allyn & Bacon.

Stoll, L., & Louis, K. S. (2007). Professional learning communities: Elaborating new approaches. Professional learning communities : Divergence, depth and dilemmas, 1-13.

Wheeler, Amy. (2007). Active Learning to Improve Student Performance in Remedial Mathematics. In Paper Present at the annual meeting of the Mathematical Association of America. Retrieved June 18, 2008, from http://www.allacademic.com/one/www/research.