การสร้างความเชื่อใจในวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา

Main Article Content

ปฐมพงษ์ ชุ่มมงคล
ไพเราะ เสาะสมบูรณ์
โชคชัย ยืนยง

บทคัดย่อ

ในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาส่วนหนึ่งก็มาจากการวิจัยทางการศึกษาที่มุ่งเน้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีในการจัดการศึกษา สำหรับในประเทศไทยถูกจัดอันดับคุณภาพการศึกษาในระดับต่ำ งานวิจัยทางการศึกษาส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเชิงประมาณที่แปลความหมายข้อมูลจากตัวเลขและเกิดการผลิตซ้ำของงานวิจัย ดังนั้นสิ่งที่ควรส่งเสริมในการวิจัยที่จะเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาก็คือการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวิจัยในชั้นเรียน สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพนั้นผู้วิจัยยังกังวลเกี่ยวกับคุณภาพและความน่าเชื่อถือของงานวิจัยที่แสดงให้เห็นได้ยาก ทำให้ปริมาณงานวิจัยเชิงคุณภาพทางการศึกษาไม่เป็นที่แพร่หลาย ดังนั้นในบทความนี้จะได้นำเสนอกระบวนการสร้างความเชื่อใจ (Trustworthiness) ซึ่งเป็นหัวใจของการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา


 

Article Details

บท
Academic Article

References

IMD World Competitiveness Center. (2022). IMD World Digital Competitiveness Ranking.

Lincoln, Y. S., and Guba, E. G. (1985). Naturalistic Inquiry.California: Sage Publications.

Mabuza, L. H., Govender, I., Ogunbanjo, G. A., & Mash, B. (2014). African primary care research: Qualitative data analysis and writing results. African journal of primary health care & family medicine, 6(1), 1-5.

Patton, M. Q. (1990). Qualitative evaluation and research methods. SAGE Publications, inc.

Skedsmo, G., & Huber, S. G. (2021). What does educational quality mean?. Educational Assessment, Evaluation and Accountability, 33, 587-589.

Sohsomboon, P and Yuenyong, C. (2021). Strategies for Teacher Utilizing Ethnography as a Way of Seeing for STEAM Education. Journal of Physics: Conference Series, 1933 (1), 012080

โชคชัย ยืนยง (2552) กระบวนทัศน์เชิงตีความ (Interpretive paradigm): อีกกระบวนทัศน์หนึ่งสำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ศึกษา . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 32 ฉบับที่ 3 กรกฏาคม - กันยายน 2552 หน้า 14 - 22.

จีระวรรณ เกษสิงห์. (2555). คุณภาพของงานวิจัยเชิงคุณภาพ. ในลือชา ลดาชาติ (บ.ก.), การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาความเข้าใจของนักเรียน (น. 102–121). โรงพิมพ์อักษรไทย (น.ส.พ. ฟ้าเมืองไทย).

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2013). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. Silpakorn Educational Research Journal, 5(1), 7-20.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2017). กระบวนการสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. Suratthani Rajabhat Journal, 4(2), 45-70.

พรชัย ชิณสา, ไพเราะ เสาะสมบูรณ์ และ โชคชัย ยืนยง. (2564) เข้าถึงเข้าใจโอกาสใหม่ ๆ ในการทำวิจัยทางการศึกษา ด้วยการยึดถือโลกทัศน์การวิจัยที่หลากหลาย. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม – สิงหาคม 2564. หน้า 47 - 64

ยลพรรษย์ ศิริรัตน์, มัทนา วังถนอมศักดิ์ (2562). ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา.วารสารการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(1), 488-510.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์.

ลฎาภา สุทธกูล และลือชา ลฎาชาติ. (2013). การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. Naresuan University Journal, 21(3), 107 – 123.

ลือชา ลดาชาติ, จุฬารัตน์ ธรรมประทีป. (2555). การตั้งคำถามวิจัยเชิงคุณภาพ. ในลือชา ลดาชาติ (บ.ก.), การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาความเข้าใจของนักเรียน (น. 34–55). โรงพิมพ์อักษรไทย (น.ส.พ. ฟ้าเมืองไทย).

สิรินภา กิจเกื้อกูล (2561). งานวิจัยเชิงคุณภาพ: กระบวนทัศน์ที่แตกต่างและมโนทัศน์ที่ คลาดเคลื่อน QUALITATIVE RESEARCH: A DISTINGUISHED PARADIGM AND MISCONCEPTIONS. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(1), 272 – 283.

อุทัย บุญ ประเสริฐ. (2016). การวิจัยด้านการจัดการการศึกษา. Journal of Research and Development Institute Rajabhat Maha Sarakham University, 3(1), 2-6.